อาศัยอยู่ในเขต อำเภอโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนม ประวัติความเป็นมา ชาวไทยโส การแปล - อาศัยอยู่ในเขต อำเภอโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนม ประวัติความเป็นมา ชาวไทยโส อังกฤษ วิธีการพูด

อาศัยอยู่ในเขต อำเภอโพนสวรรค์ จังหว

อาศัยอยู่ในเขต อำเภอโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนม
ประวัติความเป็นมา ชาวไทยโส้ในพื้นที่จังหวัดนครพนม เป็นชาวไทยตระกูลเดียวกันกับพวกบรู หรือพวกไทยข่า นักมนุษยวิทยาถือว่าพวกไทยโซ่เป็นชาติพันธุ์ของมนุษย์ ในกลุ่มมองโกเลียด์ มีภาษาขนบธรรมเนียมประเพณีแตกต่างไปจากพวกไทยข่า แต่ภาษานั้นถือว่า อยู่ในตะกูลออสโตรอาเซียติดสาขามอญเขมรหรือตะตู ซึ่งสถาบันวิจัยภาษาฯ ของมหาวิทยาลัยมหิดลได้รวบรวมไว้บทความเรื่องภาษาตระกูลไทย
พวกกะโซ่ซึ่งอพยพเข้ามาในสมัยรัชกาลที่ 3 ได้ตั้งขึ้นเป็นเมืองหลายเมือง คือ เมืองรามราช เป็นชาวกะโซ่จากเมืองเซียงฮ่ม ในแขวงสุวรรณเขต ตั้งขึ้นเป็นเมืองรามราช ขึ้นกับเมืองนครพนม เมื่อ พ.ศ. 2387 โปรดเกล้าฯ ตั้งให้ท้าวบัว แห่งเมืองเชียงฮ่ม เป็นพระทัยประเทศ เป็นเจ้าเมืองเป็นคนแรก ปัจจุบันเป็นพื้นที่รามราช ตำบลพระทาย ตำบลท่าจำปา อำเภอท่าอุเทน ตำบลโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนมเป็นหมู่บ้านชาวไทยโส้
นอกจากนั้นยังมีชาวไทยโส้อยู่ในท้องที่อำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนมอีกหลายหมู่บ้าน เช่น ตำบลโคกสูง และบ้านวังตามัว ในท้องที่อำเภอเมืองนครพนม
ศิลปะ วัฒนธรรมกะโส้ซึ่งรักษาไว้เป็นเอกลักษณ์ประจำเชื่อชาติ ที่เด่นชัดก็คือโซ่ทั่งบั้ง หรือภาษากะโซ่เรียกว่า สะลา เป็นพิธีการในการบวงสรวงวิญญาณของบรรพบุรุษประจำปีหรือเรียกขวัญและรักษาคนป่วย กับพิธี ซางกระมูด ในงานศพ
1. พิธีกรรม โซ่ทั่งบั้ง เป็นภาษาชาวไทยอีสานเรียกชื่อพิธีกรรมของชาวกะโซ่คำว่าโซ่ หมายถึง พวกกะโซ่ คำว่าทั่ง แปลว่ากระทุ้ง หรือกระแทก คำว่าบั้ง หมายถึงบ้องหรือกระบอกไม้ไผ่ โซ่ทั่งบั้ง ก็คือ การใช้กระบอกไม้ไผ่ยาวประมาณ 3 ปล้อง กระทุ้งดินให้เป็นจังหวะและมีผู้ร่ายรำและร้องรำไปตามจังหวะในพิธีกรรมของชาวกระโซ่ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เมื่อครั้งเสด็จตรวจราชการมณฑลอุดร เมื่อเสด็จถึงเมืองกุสุมาลย์ (อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร) เมื่อ พ.ศ. 2449 ได้ทรงบันทึกการแสดงโซ่ ทั่งบั้งหรือสะลาไว้ว่า
สลามีหม้อดินตั้งกลางแล้วมีคนต้นบทคนหนึ่ง คนสะพายหน้าไม้ และลูกสำหรับยิงคนหนึ่ง คนตีฆ้องเรียกว่าพระเนาะคนหนึ่งคนถือไม้ไผ่สามปล้องสำหรับกระทุงดิน รวมแปดคน เดินร้องรำเป็นวนเวียนไปมา พอพักหนึ่งก็ดื่มอุและร้องรำต่อไป...
2. พิธีซางกระมูด เป็นพิธีกรรมก่อนนำศพลงจากเรือน คำว่า ซาง หมายถึง การกระทำหรือการจัดระเบียบ กระมูด แปลว่า ผี ซางกระมูด หมายถึง การจัดพิธีเกี่ยวกับคนตายชาวกระโซ่ถือว่า เมื่อคนตายไปแล้วจะเป็นผีดิบ จึงต้องกระทำพิธีซางกระมูดเสียก่อน เพื่อให้ผีดิบและวิญญาณของผู้ตายได้สงบสุข มิฉะนั้นอาจทำให้ญาติพี่น้องเกิดเจ็บป่วยขึ้นได้
อุปกรณ์ในพิธีซางกระมูดประกอบด้วย ขันโต(ขันกระหย่อง) สานด้วยไม้ไผ่สองใบ เป็นภาชนะใส่อุปกรณ์ต่างๆ มีไม้ไผ่สานเป็นรูปจักจั่น 4 ตัว แทนวิญญาณของผู้ตาย นอกจากนี้ยังมีพานสำหรับยกครู (คาย) ประกอบด้วยขันธ์ 5 เทียน5 คู่ ดอกไม้สีเขียว เช่น ดอกลั่นทม 5คู่ เงินเหรียญ 12 บาท ไข่ดิบ 1 ฟอง
ดาบโบราณ 1 เล่ม ขันหมาก 1 ขันมีดอกไม้อยู่ในขันหมาก 1 คู่ พร้อมด้วยบุหรี่ และเทียนสำหรับทำพีอีกหนึ่งเล่ม ล่ามหรือหมอผีจะเป็นผู้กระทำพิธีและสอบถามวิญญาณของผู้ตายได้สงบสุข เมื่อทราบความต้องการของวิญญาณแล้วญาติก็จะจัดสิ่งของไว้บวงสรวงวิญญาณ
3. พิธีเหยา ในการรักษาคนป่วยหรือเรียกขวัญคล้ายๆ กับพิธีของชาวไทยอีสานทั่วไป เพื่อเป็นกำลังใจให้ผู้ป่วยหรือการเรียกขวัญ โดยหมอผีจะทำหน้าที่เป็นล่ามสอบถามวิญญาณของบรรพบุรุษ
ชาวไทยกะโซ่มีผิวกายที่ดำคล้ำเช่นเดียวกับพวกข่า สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงกล่าวถึงการแต่งกายของชาวกะโซ่ไว้ในหนังสือเรื่องเที่ยวที่ ต่างๆ ภาค 4 เมื่อเสด็จภาคอีสานเมื่อ พ.ศ. 2449 ไว้ว่า ....ผู้หญิงไว้ผมสูงแต่งตัวนุ่งซิ่นสวมเสื้อแขนกระบอกย้อมครามห่มผ้าแถบ ผู้ชายแต่งกายอย่างคนเมือง แต่เดิมนุ่งผ้าเตี่ยวไว้ชายข้างหน้า ชายหนึ่ง
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน เหยาเพื่อรักษาโรคต่างๆ
ภาษาที่ใช้ภาษาคือภาษาโส้
เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันได้เสด็จเยี่ยมพสกนิกรจังหวัด นครพนม เมื่อ พ.ศ. 2498 ซึ่งจังหวัดมุกดาหารยังรวมอยู่ในจังหวัดนครพนม ชาวไทยกะโซ่
ได้แสดงโส้ทั่งบั้งหรือสะลาทอดพระเนตรพร้อมกับร้องคำถวายพระพรเป็นภาษากะโซ่ว่า เซินตะดกละแสง เซินแต่แซงมะนาง เซินยอนางเอย ดรุ๊กอีตู จูเยก ยางเอย ดรุ๊กอีตูจูเยอวายเอย
ไฮพัดกระกมติตอนจิรอ ไฮพัดระพอดิตรอนอิตูด ตะรงยางเอย
ระกบเจ้ากวงมานะ วอนเบาแบนเราะ เนออาญาเฮาเอย
สะโอนเนาต๊กยะ วอนเบาแบนเราะ ดูกรองวไดเดอกะนางไฮเอย
คำแปล ขอเชิญสิ่งศักดิ์สิทธ์ขุนเขา ขอเชิญแสงตะวันอันแรงกล้า เชิญเถิดขอให้สิ่งศักดิ์สิทธ์ จงมาให้ขวัญทั้งหลายจงมาร่วมกัน ณ ที่นี้ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายเอย ขอให้มาคุ้มครองสองเจ้าเหนือหัว ขอให้พระองค์อยู่ดีมีสุขเถิดพระเจ้าเราเอย ขอให้อย่ามีทุกข์และความเดือดร้อน ขอให้พระองค์อยู่ดีมีสุขอยู่คู่เมืองไทย ปกป้องคุ้มครองพวกทั้งหลายตลอดไปเทอญ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
อาศัยอยู่ในเขต อำเภอโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนม ประวัติความเป็นมา ชาวไทยโส้ในพื้นที่จังหวัดนครพนม เป็นชาวไทยตระกูลเดียวกันกับพวกบรู หรือพวกไทยข่า นักมนุษยวิทยาถือว่าพวกไทยโซ่เป็นชาติพันธุ์ของมนุษย์ ในกลุ่มมองโกเลียด์ มีภาษาขนบธรรมเนียมประเพณีแตกต่างไปจากพวกไทยข่า แต่ภาษานั้นถือว่า อยู่ในตะกูลออสโตรอาเซียติดสาขามอญเขมรหรือตะตู ซึ่งสถาบันวิจัยภาษาฯ ของมหาวิทยาลัยมหิดลได้รวบรวมไว้บทความเรื่องภาษาตระกูลไทย Kaose kaose culture in which immigrants they came 3rd in the reign of the city the city is set up as a city from the city of chaokaso is RAM rat Xiang's new. In Savannakhet Founded as the city of Nakhon phanom city depending on RAM rat in 2387, graciously city Chiang's new Lotus as Thao, the will be the first country town ownership. Currently, it is the RAM area south. Tambon Tambon tha Phra predict Champa tha uthen district Tambon Phon sawan is Thailand Nakhon phanom villagers so. It also includes nationals of Thailand in the stomach so that PLA Pak Nakhon phanom district several villages such as Tambon khok Sung and Wang amblyopia in Amphoe mueang Nakhon phanom. So, which shifts the culture of art preserved as the prominent religion, identity is a chain kaose kaose culture or language, called anvil Chevron Tsubasa is in the La ancestral spirit, sacrifice or annual gifts and treat sick people to the ceremony. SATO NARA mut in Pasco, funeral 1. the anvil is a ritual chain Chevron Thailand called isaan people, rituals of the chaokaso they kaose kaose culture means that the word, the word translated as much shock or knock the words Jesus Christ meant a bong or a bamboo cylinder. Anvil Chevron chain is approx. 3 long bamboo soil, rhythmic JAB and pincers made a singing and dancing to the rhythm of the chaokra ritual in chain. Somdet, Phraya reigned King Nui Photo Department. When he came to make udon province. When he came to the city to bloom (Amphoe kusuman Sakon Nakhon province). In the recording, he shows a chain-2449. Chevron or La that much flyer The central area is clay pot, then Slavic people are beginning one article. Crossbow sling and ball for people to shoot one People hit the Gong, called the God no one person hold the camera for three krathung bamboo soil, including eight singing is a nice walking around. Enough for one drink and sing and dance, the next Osama ...2. the ceremony of Guangzhou RA SAMA before funeral rites as mut, down from words that means action or sang organize mut means ghost freckles Pasco RA SAMA ceremony about the mut means dead chaokra chain is considered when people are dead as a zombie, so should be done before the ceremony of Guangzhou Sha RA mut. So the souls of the dead zombie and be peaceful. Otherwise, it might cause illness, birth relatives. The device in the ceremony of Guangzhou Sha RA consists of mut. Crow (Crow freckles bridge) is a double weave with a bamboo container, put the devices with bamboo as a chakchan Agent 4, the spirit of the deceased. There is also a bridge for teachers (spit) consists of 5 double flower 5 Khan-Green 5 currency pairs such as the frangipani flowers 12 baht coins 1 raw egg. Ancient sword 1 tighten tighten 1 piece, and flowers are located in the Khan maak 1 pair with cigarettes and candles for an interpreter or another PC shaman ceremony will be covered by the spirit of the deceased and asked for peace. When the soul already knows the needs of relatives brought the soul sacrifice.3. พิธีเหยา ในการรักษาคนป่วยหรือเรียกขวัญคล้ายๆ กับพิธีของชาวไทยอีสานทั่วไป เพื่อเป็นกำลังใจให้ผู้ป่วยหรือการเรียกขวัญ โดยหมอผีจะทำหน้าที่เป็นล่ามสอบถามวิญญาณของบรรพบุรุษ ชาวไทยกะโซ่มีผิวกายที่ดำคล้ำเช่นเดียวกับพวกข่า สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงกล่าวถึงการแต่งกายของชาวกะโซ่ไว้ในหนังสือเรื่องเที่ยวที่ ต่างๆ ภาค 4 เมื่อเสด็จภาคอีสานเมื่อ พ.ศ. 2449 ไว้ว่า ....ผู้หญิงไว้ผมสูงแต่งตัวนุ่งซิ่นสวมเสื้อแขนกระบอกย้อมครามห่มผ้าแถบ ผู้ชายแต่งกายอย่างคนเมือง แต่เดิมนุ่งผ้าเตี่ยวไว้ชายข้างหน้า ชายหนึ่ง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน เหยาเพื่อรักษาโรคต่างๆภาษาที่ใช้ภาษาคือภาษาโส้ เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันได้เสด็จเยี่ยมพสกนิกรจังหวัด นครพนม เมื่อ พ.ศ. 2498 ซึ่งจังหวัดมุกดาหารยังรวมอยู่ในจังหวัดนครพนม ชาวไทยกะโซ่ได้แสดงโส้ทั่งบั้งหรือสะลาทอดพระเนตรพร้อมกับร้องคำถวายพระพรเป็นภาษากะโซ่ว่า เซินตะดกละแสง เซินแต่แซงมะนาง เซินยอนางเอย ดรุ๊กอีตู จูเยก ยางเอย ดรุ๊กอีตูจูเยอวายเอยไฮพัดกระกมติตอนจิรอ ไฮพัดระพอดิตรอนอิตูด ตะรงยางเอยระกบเจ้ากวงมานะ วอนเบาแบนเราะ เนออาญาเฮาเอยสะโอนเนาต๊กยะ วอนเบาแบนเราะ ดูกรองวไดเดอกะนางไฮเอยคำแปล ขอเชิญสิ่งศักดิ์สิทธ์ขุนเขา ขอเชิญแสงตะวันอันแรงกล้า เชิญเถิดขอให้สิ่งศักดิ์สิทธ์ จงมาให้ขวัญทั้งหลายจงมาร่วมกัน ณ ที่นี้ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายเอย ขอให้มาคุ้มครองสองเจ้าเหนือหัว ขอให้พระองค์อยู่ดีมีสุขเถิดพระเจ้าเราเอย ขอให้อย่ามีทุกข์และความเดือดร้อน ขอให้พระองค์อยู่ดีมีสุขอยู่คู่เมืองไทย ปกป้องคุ้มครองพวกทั้งหลายตลอดไปเทอญ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
อาศัยอยู่ในเขตอำเภอโพนสวรรค์จังหวัดนครพนมประวัติความเป็นมาชาวไทยโส้ในพื้นที่จังหวัดนครพนมเป็นชาวไทยตระกูลเดียวกันกับพวกบรูหรือพวกไทยข่านักมนุษยวิทยาถือว่าพวกไทยโซ่เป็นชาติพันธุ์ของมนุษย์ในกลุ่มมองโกเลียด์มีภาษาขนบธรรมเนียมประเพณีแตกต่างไปจากพวกไทยข่าแต่ภาษานั้นถือว่าอยู่ในตะกูลออสโตรอาเซ ียติดสาขามอญเขมรหรือตะตูซึ่งสถาบันวิจัยภาษาฯของมหาวิทยาลัยมหิดลได้รวบรวมไว้บทความเรื่องภาษาตระกูลไทยพวกกะโซ่ซึ่งอพยพเข้ามาในสมัยรัชกาลที่ 3 ได้ตั้งขึ้นเป็นเมืองหลายเมืองความเมืองรามราชเป็นชาวกะโซ่จากเมืองเซียงฮ่มในแขวงสุวรรณเขตตั้งขึ้นเป็นเมืองรามราชขึ้นกับเมืองนครพนมเมื่อพ . ศ . 2387 โปรดเกล้าฯตั้งให้ท้าวบัวแห่งเมืองเชียงฮ่มเป็นพระทัยประเทศเป็นเจ้าเมืองเป็นคนแรกปัจจุบันเป็นพื้นที่รามราชตำบลพระทายตำบลท่าจำปาอำเภอท่าอุเทนตำบลโพนสวรรค์จังหวัดนครพนมเป็นหมู่บ้านชาวไทยโส้นอกจากนั้นยังมีชาวไทยโส้อยู่ในท้องที่อำเภอปลาปากจังหวัดนครพนมอีกหลายหมู่บ้านเช่นตำบลโคกสูงและบ้านวังตามัวในท้องที่อำเภอเมืองนครพนมศิลปะวัฒนธรรมกะโส้ซึ่งรักษาไว้เป็นเอกลักษณ์ประจำเชื่อชาติที่เด่นชัดก็คือโซ่ทั่งบั้งหรือภาษากะโซ่เรียกว่าสะลาเป็นพิธีการในการบวงสรวงวิญญาณของบรรพบุรุษประจำปีหรือเรียกขวัญและรักษาคนป่วยกับพิธีซางกระมูดในงานศพ1 . พิธีกรรมโซ่ทั่งบั้งเป็นภาษาชาวไทยอีสานเรียกชื่อพิธีกรรมของชาวกะโซ่คำว่าโซ่หมายถึงพวกกะโซ่คำว่าทั่งแปลว่ากระทุ้งหรือกระแทกคำว่าบั้งหมายถึงบ้องหรือกระบอกไม้ไผ่โซ่ทั่งบั้งก็คือการใช้กระบอกไม้ไผ่ยาวประมาณ 3 ปล้องกระทุ้งดินให้เป็นจังหวะและมีผู้ร่ายรำแล ะร้องรำไปตามจังหวะในพิธีกรรมของชาวกระโซ่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเมื่อครั้งเสด็จตรวจราชการมณฑลอุดรเมื่อเสด็จถึงเมืองกุสุมาลย์ ( อำเภอกุสุมาลย์จังหวัดสกลนคร ) เมื่อพ . ศ . ได้ทรงบันทึกการแสดงโซ่ทั่งบั้งหรือสะลาไว้ว่า 2449สลามีหม้อดินตั้งกลางแล้วมีคนต้นบทคนหนึ่งคนสะพายหน้าไม้และลูกสำหรับยิงคนหนึ่งคนตีฆ้องเรียกว่าพระเนาะคนห
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: