พระธาตุนาดูน จังหวัดมหาสารคามประวัติพุทธมณฑลแห่งอีสาน THE BUHHDA'S REL การแปล - พระธาตุนาดูน จังหวัดมหาสารคามประวัติพุทธมณฑลแห่งอีสาน THE BUHHDA'S REL อังกฤษ วิธีการพูด

พระธาตุนาดูน จังหวัดมหาสารคามประวัต

พระธาตุนาดูน จังหวัดมหาสารคามประวัติพุทธมณฑลแห่งอีสาน
THE BUHHDA'S RELIC CONTAIN INSIDE

พุทธมณฑลแห่งอีสาน
ด้านในบรรจุพระบรมสาริกธาตุ
ชื่อ : พระธาตุนาดูน
ที่อยู่ : บ้านนาดูน อำเภอ นาดูน จังหวัด มหาสารคาม.
จุดเด่นในพุทธสถานพระธาตุนาดูน
พระธาตุนาดูน จำลองแบบสถูปทองสำริด ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งเป็นศิลปะทวารวดี
ความสำคัญ
1. เขตที่มีการขุดพบหลักฐานทางประวัติศาสตร์โบราณคดี ที่แสดงถึงความเจริญ รุ่งเรืองในอดีต
2. เคยเป็นที่ตั้งของนครจำปาศรีมาก่อน
3. โบราณวัตถุต่างๆ ที่ค้นพบได้นำไปแสดงไว้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัด-ขอนแก่น
4. การขุดพบสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุบรรจุในตลับทองคำ เงิน และสำริด
- สันนิษฐานว่ามีอายุอยู่ในพุทธศตวรรษที่ 13 - 15 สมัยทวาราวดี

ประวัติข้อมูล,สิ่งที่น่าสนใจ
ในพุทธสถานพระธาตุนาดูน
เนื่องจากมีการขุดค้นพบหลักฐานทางประวัติศาสตร์ อย่างมากมาย
ทางรัฐบาลจึงได้อนุมัติให้ดำเนินการก่อสร้างพระธาตุนาดูนขึ้น
1. พิพิธภัณฑ์ทางศาสนาและวัฒนธรรม สวนรุกขชาติ สวนสมุนไพร
2. บริเวณรอบ ๆ ตกแต่งให้เป็นสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนา
การเดินทาง
- จากตัวเมืองมหาสารคาม (ทางหมายเลข -2040 )
- ผ่าน อำเภอแกดำ – อำเภอวาปีปทุม แล้วเลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2045, ถึง อำเภอนาดูน ( ทางลาดยางตลอดเส้นทาง ) - ห่างจากตัวเมืองมหาสารคามประมาณ 65 กม.
.- ห่างจากตัวเมืองอำเภอวาปีปทุมประมาณ 23 กม.
หรือจะเดินทางมาด้าน อำเภอพยัคฆภูมิสัยก็ได้
กม.
.- ห่างจากตัวเมืองอำเภอพยัคฆภูมิสัย ประมาณ 26 ข้อมูลประวัติการค้นพบ
- การขุดพบพบหลักฐานทาง -ประวัติศาสตร์ ที่ อำเภอนาดูนเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณ แห่งหนึ่งที่มีประวัติอันยาวนาน
- เมืองจัมปาศรีที่เจริญรุ่งเรืองในสมัยทวารวดี / ที่ตั้งของ อำเภอนาดูน ปัจจุบัน
- ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 - 15
- มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และ โบราณคดีที่ค้นพบมากมาย ความเป็นมา ทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี

ถิ่นฐานอารยธรรมจัมปาศรีในอดีตกาล สันนิษฐานได้ว่า มีความเจริญรุ่งเรืองมา 2 ยุค
1. ยุคทวารวดี ระหว่าง พ.ศ.1000 - 1200
2. ยุคลพบุรี ระหว่าง พ.ศ.1600 - 1800
- ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 - 16
- เจดีย์สมัยทวารวดีอยู่ 25 องค์
- เจ้าผู้ครองเมืองนครจำปาศรี นับตั้งแต่ พระเจ้ายศวรราช
- ได้สร้างสถานที่สักการะบูชาในพิธีทางศาสนาพราหมณ์ และ พุทธ เช่น เทวาลัย ปรางค์กู่ เป็นต้น
- เจริญรุ่งเรืองทั้งในด้านศาสนา / วัฒนธรรม / การปกครอง
ประวัติการขุดค้นพบ
ขุดค้นพบเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2522 ประชาชนกลุ่มหนึ่งได้ขุดพบพระพิมพ์ดินเผาใน
บริเวณที่นาของนายทองดี ปะวะภูตา ราษฎร-บ้านนาดูน
- ได้ขุดค้นพบสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ สถูปทำด้วยทองสำริด แยกเป็น 2 ส่วน คือ
ตัวสถูป / องค์ระฆังแบ่งออกเป็น 2 ตอน
1. ตัวสถูป- บรรจุ พระอังคาร( ขี้เถ้า) ) - สถูปส่วนที่บรรจุผอบพระบรมสารีริกธาตุ
- โดยผอบจะบรรจุซ้อนกัน 3 ชั้น
- ผอบทองคำ ( ในสุด )
- พระบรมสารีริกธาตุบรรจุ 1 องค์
2. ส่วนยอด
- ทำด้วยทองสำริดกลมตัน
- ทำเป็นปล้องไฉนลูกแก้ว และ ปลียอด
- ตอนต้นทำเป็นเกลียวสามารถปิดประกอบกับส่วนตัวองค์สถูปได้พอดี
การก่อสร้างพระธาตุนาดูน
- ก่อสร้าง เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2522
- เนื้อที่ 902 ไร่
- ก่อสร้างเสร็จเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2530

ผู้รวบรวมข่าวประชาสัมพันธ์ พระกฤษณะชัย สจฺจญาโณ: รหัส. 5405204001, ´

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
พระธาตุนาดูน จังหวัดมหาสารคามประวัติพุทธมณฑลแห่งอีสาน THE BUHHDA'S RELIC CONTAIN INSIDE พุทธมณฑลแห่งอีสาน ด้านในบรรจุพระบรมสาริกธาตุชื่อ : พระธาตุนาดูนที่อยู่ : บ้านนาดูน อำเภอ นาดูน จังหวัด มหาสารคาม. จุดเด่นในพุทธสถานพระธาตุนาดูน พระธาตุนาดูน จำลองแบบสถูปทองสำริด ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งเป็นศิลปะทวารวดีความสำคัญ 1. เขตที่มีการขุดพบหลักฐานทางประวัติศาสตร์โบราณคดี ที่แสดงถึงความเจริญ รุ่งเรืองในอดีต 2. เคยเป็นที่ตั้งของนครจำปาศรีมาก่อน 3. โบราณวัตถุต่างๆ ที่ค้นพบได้นำไปแสดงไว้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัด-ขอนแก่น 4. การขุดพบสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุบรรจุในตลับทองคำ เงิน และสำริด - สันนิษฐานว่ามีอายุอยู่ในพุทธศตวรรษที่ 13 - 15 สมัยทวาราวดีประวัติข้อมูล,สิ่งที่น่าสนใจ ในพุทธสถานพระธาตุนาดูน เนื่องจากมีการขุดค้นพบหลักฐานทางประวัติศาสตร์ อย่างมากมายทางรัฐบาลจึงได้อนุมัติให้ดำเนินการก่อสร้างพระธาตุนาดูนขึ้น 1. พิพิธภัณฑ์ทางศาสนาและวัฒนธรรม สวนรุกขชาติ สวนสมุนไพร 2. บริเวณรอบ ๆ ตกแต่งให้เป็นสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนาการเดินทาง - จากตัวเมืองมหาสารคาม (ทางหมายเลข -2040 ) - ผ่าน อำเภอแกดำ – อำเภอวาปีปทุม แล้วเลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2045, ถึง อำเภอนาดูน ( ทางลาดยางตลอดเส้นทาง ) - ห่างจากตัวเมืองมหาสารคามประมาณ 65 กม. .- ห่างจากตัวเมืองอำเภอวาปีปทุมประมาณ 23 กม. หรือจะเดินทางมาด้าน อำเภอพยัคฆภูมิสัยก็ได้ กม. .- ห่างจากตัวเมืองอำเภอพยัคฆภูมิสัย ประมาณ 26 ข้อมูลประวัติการค้นพบ - การขุดพบพบหลักฐานทาง -ประวัติศาสตร์ ที่ อำเภอนาดูนเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณ แห่งหนึ่งที่มีประวัติอันยาวนาน - เมืองจัมปาศรีที่เจริญรุ่งเรืองในสมัยทวารวดี / ที่ตั้งของ อำเภอนาดูน ปัจจุบัน - ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 - 15 - มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และ โบราณคดีที่ค้นพบมากมาย ความเป็นมา ทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี

ถิ่นฐานอารยธรรมจัมปาศรีในอดีตกาล สันนิษฐานได้ว่า มีความเจริญรุ่งเรืองมา 2 ยุค
1. ยุคทวารวดี ระหว่าง พ.ศ.1000 - 1200
2. ยุคลพบุรี ระหว่าง พ.ศ.1600 - 1800
- ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 - 16
- เจดีย์สมัยทวารวดีอยู่ 25 องค์
- เจ้าผู้ครองเมืองนครจำปาศรี นับตั้งแต่ พระเจ้ายศวรราช
- ได้สร้างสถานที่สักการะบูชาในพิธีทางศาสนาพราหมณ์ และ พุทธ เช่น เทวาลัย ปรางค์กู่ เป็นต้น
- เจริญรุ่งเรืองทั้งในด้านศาสนา / วัฒนธรรม / การปกครอง
ประวัติการขุดค้นพบ
ขุดค้นพบเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2522 ประชาชนกลุ่มหนึ่งได้ขุดพบพระพิมพ์ดินเผาใน
บริเวณที่นาของนายทองดี ปะวะภูตา ราษฎร-บ้านนาดูน
- ได้ขุดค้นพบสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ สถูปทำด้วยทองสำริด แยกเป็น 2 ส่วน คือ
ตัวสถูป / องค์ระฆังแบ่งออกเป็น 2 ตอน
1. ตัวสถูป- บรรจุ พระอังคาร( ขี้เถ้า) ) - สถูปส่วนที่บรรจุผอบพระบรมสารีริกธาตุ
- โดยผอบจะบรรจุซ้อนกัน 3 ชั้น
- ผอบทองคำ ( ในสุด )
- พระบรมสารีริกธาตุบรรจุ 1 องค์
2. ส่วนยอด
- ทำด้วยทองสำริดกลมตัน
- ทำเป็นปล้องไฉนลูกแก้ว และ ปลียอด
- ตอนต้นทำเป็นเกลียวสามารถปิดประกอบกับส่วนตัวองค์สถูปได้พอดี
การก่อสร้างพระธาตุนาดูน
- ก่อสร้าง เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2522
- เนื้อที่ 902 ไร่
- ก่อสร้างเสร็จเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2530

ผู้รวบรวมข่าวประชาสัมพันธ์ พระกฤษณะชัย สจฺจญาโณ: รหัส. 5405204001, ´

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The relics Dun office history database of the Northeast
THE BUHHDA 'S RELIC CONTAIN INSIDE monthon isan


of inner packing the sarinee much element
name. : relic Dun
address: house see District dun. Maha Sarakham.
.Featured in the Buddhist relics, Na Dun
relics dun. Simulation ทองสำริด stupa containing the sari Rick elements. The Dvaravati art

1 importance.The field with excavated archaeological evidence, history, shows the prosperity, prosperous in the past
2. Was once the location of the city charuppat before
3. Antiques. Discovery was listed in National Museum - Khon Kaen
4.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: