บทการนำเสนอผลการศึกษาอิสระเรียน อาจารย์และแขกผู้มีเกียรติทุกท่าน ดิฉัน การแปล - บทการนำเสนอผลการศึกษาอิสระเรียน อาจารย์และแขกผู้มีเกียรติทุกท่าน ดิฉัน อังกฤษ วิธีการพูด

บทการนำเสนอผลการศึกษาอิสระเรียน อาจ

บทการนำเสนอผลการศึกษาอิสระ
เรียน อาจารย์และแขกผู้มีเกียรติทุกท่าน ดิฉันนางสาวฐิติยา ดวงปากเพ็ง นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รู้สึกภูมิใจและเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่มีโอกาสได้นำเสนอเนื้อหาการศึกษาอิสระ เรื่อง การรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองของผู้ป่วยจิตเวช อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. ชูชาติ วงศ์อนุชิต
ที่มาและความสำคัญ ปัจจุบันจำนวนผู้ป่วยจิตเวชมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สาเหตุมาจากปัจจัยต่างๆที่เข้ามารุมเร้าในชีวิตประจำวัน ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทางสังคม ส่งผลให้เกิดปัญหาทางสุขภาพจิตตามมา และเมื่อผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคทางจิตเวช ผู้ป่วยจะถูกสังคมตราหน้าว่าเป็นโรคจิต ก่อเกิดเป็นตราบาปติดตัวผู้ป่วยไปตลอดชีวิต ซึ่งจากการศึกษาพบว่าตราบบาปส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยจิตเวชหลายด้าน ขัดขวางโอกาสการพัฒนาบทบาททางสังคมและความรู้สึกดีต่อตนเอง ส่งผลให้การเห็นคุณค่าในตนเองลดลง อีกทั้งยังเป็นอุปสรรคสำคัญที่สุดในการฟื้นตัวของผู้ป่วยจิตเวช และถึงแม้ว่าจากการศึกษาที่ผ่านมาจะพบว่าผู้ป่วยจิตเวชมีการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองอยู่ในระดับต่ำ แต่พบว่าการศึกษาเกี่ยวกับการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองของผู้ป่วยจิตเวชส่วนใหญ่ได้ทำการศึกษาเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลจิตเวชขนาดใหญ่ ซึ่งมีระบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างครอบคลุมทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ จึงอาจส่งผลให้ผู้ป่วยมีการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองในระดับต่ำได้ ดังนั้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ตราบาปภายในใจของผู้ป่วยจิตเวช ที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งในเขตจังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์ในการวิจัย
1. เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองของผู้ป่วยจิตเวชที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งในเขตจังหวัดกาฬสินธุ์
2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอายุและระยะเวลาของการมีภาวะเจ็บป่วยทางจิตกับระดับการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองของผู้ป่วยจิตเวชที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งในเขตจังหวัดกาฬสินธุ์
ประชากร คือ ผู้ป่วยจิตเวชที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งในเขตจังหวัดกาฬสินธุ์
กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยจิตเวชที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งใน จำนวน 46 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ส่วนที่ 2 แบบวัดการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองของการมีภาวะเจ็บป่วยทางจิต (ฉบับภาษาไทย) แปลโดยชูชาติ วงศ์อนุชิต และคณะ ตรวจสอบความเชื่อมั่นของเครื่องมือ โดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาร์คเท่ากับ 0.88
จากผลการวิจัย พบว่า ผู้ป่วยจิตเวชส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 54.30 มีอายุเฉลี่ย 46.65 ปี (SD = 15.16) ระดับการศึกษาส่วนใหญ่จบชั้นประถมศึกษาหรือต่ำกว่า ไม่ได้ทำงาน และมีสถานภาพสามรสโสด ร้อยละ 58.70 71.70 และ43.50 ตามลำดับ การวินิจฉัยโรคส่วนใหญ่เป็นโรคจิตเภท (Schizophrenia) ร้อยละ 54.30 โดยมีระยะเวลาของการมีภาวะเจ็บป่วยทางจิตเฉลี่ย 89.22 ปี ( SD = 94.35 ) และจากการศึกษาการรับรู้ตราบาปภายในใจของผู้ป่วยจิตเวชในแต่ละด้าน ได้แก่ 1 ด้านความรู้สึกแปลกแยกจากสังคม, 2 ด้านการเห็นด้วยกับความเชื่อแบบเหมารวม/การมีอคติ, 3 ด้านประสบการณ์ในการถูกเลือกปฏิบัติ, 4 ด้านการแยกตนเองออกจากสังคม และ 5 ด้านความต้านทานต่อการรับรู้ตราบาป พบว่าผู้ป่วยมีการรับรู้ตราบาปใน 4 ด้านอยู่ในระดับน้อยที่สุดถึงไม่มีเลย ยกเว้นด้านที่ 3 คือด้านประสบการณ์ในการถูกเลือกปฏิบัติที่มีระดับการรับรู้ตราบาปอยู่ในระดับน้อย โดยรวมผู้ป่วยจิตเวชมีการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองอยู่ในระดับน้อยที่สุดถึงไม่มีเลย และในด้านความสัมพันธ์ พบว่าอายุและระยะเวลาของการมีภาวะเจ็บป่วยทางจิตมีความสัมพันธ์ในระดับต่ำมากกับการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองของผู้ป่วยจิตเวช (r = 0.224, r = 0.158) ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
สรุปและอภิปรายผล
โดยรวมผู้ป่วยมีการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองอยู่ในระดับน้อยที่สุดถึงไม่มีเลย และในด้านความสัมพันธ์ พบว่าอายุและระยะเวลาของการมีภาวะเจ็บป่วยทางจิตมีความสัมพันธ์ในระดับต่ำมากกับการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองของผู้ป่วยจิตเวช ซึ่งอาจเกิดจากการศึกษาในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาในผู้ป่วยจิตเวชที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ชนบทของประเทศไทยมีวัฒนธรรมที่เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ส่วนใหญ่มีการอาศัยอยู่แบบครอบครัวขยาย มีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย มีการพึ่งพาอาศัยไม่ทอดทิ้งกัน อาจทำให้ผู้ป่วยจิตเวชไม่ได้รู้สึกแปลกแยกหรือถูกกีดกันออกไปจากสังคมของคนปกติทั่วไป จึงส่งผลต่อการมีระดับการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองในระดับน้อยที่สุดถึงไม่มีเลยได้
ข้อแนะนำ
ควรมีการจัดกิจกรรมให้ผู้ป่วยจิตเวชได้มีบทบาทหน้าที่ทางสังคมเหมือนกับคนปกติทั่วไป เพื่อลดระดับความรู้สึกการถูกเลือกปฏิบัติจากสังคม
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The article presents the results of an independent study.Dear faculty and guest of honor every one of you. I miss ya means of existence Orb mouth pheng Faculty of nursing students, grade 3, mahasarakham University. Feel proud and honored to have the opportunity to offer independent content, subject, perception, stigma in the patient's mental self. Asssistant Professor, consultant. Domo nation Wong hyperkani October 20, 2015ที่มาและความสำคัญ ปัจจุบันจำนวนผู้ป่วยจิตเวชมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สาเหตุมาจากปัจจัยต่างๆที่เข้ามารุมเร้าในชีวิตประจำวัน ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทางสังคม ส่งผลให้เกิดปัญหาทางสุขภาพจิตตามมา และเมื่อผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคทางจิตเวช ผู้ป่วยจะถูกสังคมตราหน้าว่าเป็นโรคจิต ก่อเกิดเป็นตราบาปติดตัวผู้ป่วยไปตลอดชีวิต ซึ่งจากการศึกษาพบว่าตราบบาปส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยจิตเวชหลายด้าน ขัดขวางโอกาสการพัฒนาบทบาททางสังคมและความรู้สึกดีต่อตนเอง ส่งผลให้การเห็นคุณค่าในตนเองลดลง อีกทั้งยังเป็นอุปสรรคสำคัญที่สุดในการฟื้นตัวของผู้ป่วยจิตเวช และถึงแม้ว่าจากการศึกษาที่ผ่านมาจะพบว่าผู้ป่วยจิตเวชมีการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองอยู่ในระดับต่ำ แต่พบว่าการศึกษาเกี่ยวกับการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองของผู้ป่วยจิตเวชส่วนใหญ่ได้ทำการศึกษาเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลจิตเวชขนาดใหญ่ ซึ่งมีระบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างครอบคลุมทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ จึงอาจส่งผลให้ผู้ป่วยมีการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองในระดับต่ำได้ ดังนั้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ตราบาปภายในใจของผู้ป่วยจิตเวช ที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งในเขตจังหวัดกาฬสินธุ์Research purposes.1. to study the level of perceived stigma in the patient's self admitted in a psychiatric outpatient department at a community hospital in kalasin province.2. to study the relationship between age and duration of depression, mental illness stigma awareness level in the patient's self admitted in a psychiatric outpatient department at a community hospital in kalasin province.The population is psychotherapy patients treated in the outpatient department at the community hospital in kalasin province.An example is the Group of patients treated in psychiatric outpatient department at Community Hospital, one of 46 people.Tools used in this study consists of two parts:Section 1: General informationPart 2, measuring the perceived stigma within the heart of the great depression, mental illness (Thailand language) Translation by the national Shu and Wong hyperkani October 20, 2015. Check the tool's confidence by using the coefficient alpha of cross bar khathao to 0.88.จากผลการวิจัย พบว่า ผู้ป่วยจิตเวชส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 54.30 มีอายุเฉลี่ย 46.65 ปี (SD = 15.16) ระดับการศึกษาส่วนใหญ่จบชั้นประถมศึกษาหรือต่ำกว่า ไม่ได้ทำงาน และมีสถานภาพสามรสโสด ร้อยละ 58.70 71.70 และ43.50 ตามลำดับ การวินิจฉัยโรคส่วนใหญ่เป็นโรคจิตเภท (Schizophrenia) ร้อยละ 54.30 โดยมีระยะเวลาของการมีภาวะเจ็บป่วยทางจิตเฉลี่ย 89.22 ปี ( SD = 94.35 ) และจากการศึกษาการรับรู้ตราบาปภายในใจของผู้ป่วยจิตเวชในแต่ละด้าน ได้แก่ 1 ด้านความรู้สึกแปลกแยกจากสังคม, 2 ด้านการเห็นด้วยกับความเชื่อแบบเหมารวม/การมีอคติ, 3 ด้านประสบการณ์ในการถูกเลือกปฏิบัติ, 4 ด้านการแยกตนเองออกจากสังคม และ 5 ด้านความต้านทานต่อการรับรู้ตราบาป พบว่าผู้ป่วยมีการรับรู้ตราบาปใน 4 ด้านอยู่ในระดับน้อยที่สุดถึงไม่มีเลย ยกเว้นด้านที่ 3 คือด้านประสบการณ์ในการถูกเลือกปฏิบัติที่มีระดับการรับรู้ตราบาปอยู่ในระดับน้อย โดยรวมผู้ป่วยจิตเวชมีการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองอยู่ในระดับน้อยที่สุดถึงไม่มีเลย และในด้านความสัมพันธ์ พบว่าอายุและระยะเวลาของการมีภาวะเจ็บป่วยทางจิตมีความสัมพันธ์ในระดับต่ำมากกับการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองของผู้ป่วยจิตเวช (r = 0.224, r = 0.158) ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 Summary and discussion results.โดยรวมผู้ป่วยมีการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองอยู่ในระดับน้อยที่สุดถึงไม่มีเลย และในด้านความสัมพันธ์ พบว่าอายุและระยะเวลาของการมีภาวะเจ็บป่วยทางจิตมีความสัมพันธ์ในระดับต่ำมากกับการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองของผู้ป่วยจิตเวช ซึ่งอาจเกิดจากการศึกษาในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาในผู้ป่วยจิตเวชที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ชนบทของประเทศไทยมีวัฒนธรรมที่เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ส่วนใหญ่มีการอาศัยอยู่แบบครอบครัวขยาย มีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย มีการพึ่งพาอาศัยไม่ทอดทิ้งกัน อาจทำให้ผู้ป่วยจิตเวชไม่ได้รู้สึกแปลกแยกหรือถูกกีดกันออกไปจากสังคมของคนปกติทั่วไป จึงส่งผลต่อการมีระดับการรับรู้ตราบาปภายในใจตนเองในระดับน้อยที่สุดถึงไม่มีเลยได้With suggestionsShould be, organize activities, psychiatric patients have a social role similar to normal ones in order to reduce the level of feelings of discrimination from society.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: