พ.ศ. 2535 (ค.ศ.1992) วันที่ 9 พฤษภาคม 2553 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยก การแปล - พ.ศ. 2535 (ค.ศ.1992) วันที่ 9 พฤษภาคม 2553 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยก อังกฤษ วิธีการพูด

พ.ศ. 2535 (ค.ศ.1992) วันที่ 9 พฤษภา

พ.ศ. 2535 (ค.ศ.1992) วันที่ 9 พฤษภาคม 2553 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) ได้รับการับรอง และเปิดให้แต่ละประเทศให้สัตยาบันระหว่างการประชุม Earth Summit ในเดือนมิถุนายน 2535 ณ กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล ในการประชุมครั้งนั้นมี 154ประเทศที่ลงนาม

พ.ศ. 2537 (ค.ศ 1994) อนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 21 มีนาคม 2537 ปัจจุบันมีประเทศที่เข้าร่วมเป็นภาคีทั้งสิ้น 196 ประเทศ (ข้อมูลวันที่ 2 ตุลาคม 2558) ประเทศไทยให้สัตยาบันเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม
สาระสำคัญของอนุสัญญาฯ คือ ประเทศพัฒนาแล้วจะต้องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้อยู่ในระดับที่ปล่อยในปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ.1990) ให้ได้ภายในปี พ.ศ.2543 (ค.ศ.2000) แต่ไม่ได้การบังคับ เป็นดำเนินการโดยสมัครใจ

พ.ศ. 2538 (ค.ศ.1995) การประชุมสมัชชาประเทศภาคีสมาชิกอนุสัญญาฯ ครั้งที่ 1 (Conference of Parties : COP1) เสนอให้มีการทบทวนพันธกรณีตามอนุสัญญาฯ ในขณะที่รายงานฉบับที่ 2 ของ IPPC ชี้ให้เห็นว่าก๊าซเรือนกระจกมีประมาณเพิ่มขึ้นและเชื่อว่ามนุษย์มีส่วนทำให้สภาพภูมิอากาศของโลกเปลี่ยนแปลง

พ.ศ. 2540 (ค.ศ.1997) ที่ประชุม COP3 ให้การรับรองพิธีสารเกียวโต เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม สาเหตุสำคัญที่ต้องจัดทำพิธีสารฉบับดังกล่าว เพราะการดำเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศภาคีสมาชิกไม่เป็นตามเป้าที่วางไว้ จึงจำเป็นต้องมีการทบทวนพันธกรณีและกำหนดมาตรการที่ละเอียดรัดกุมมากขึ้น สาระสำคัญของพิธีสารเกียวโต คือ ภายในปี พ.ศ.2551–2553 ประเทศที่พัฒนาแล้วต้องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเฉลี่ยร้อยละ 5 ของปริมาณการปล่อยเมื่อปี พ.ศ. 2533 ส่วนประเทศกำลังพัฒนาไม่มีพันธกรณีต้องลดก๊าซเรือนกระจก สามารถดำเนินการลดโดยสมัครใจ

พ.ศ. 2544 (ค.ศ.2001) IPCC เผยแพร่รายงานฉบับที่ 3 ยืนยันว่า ร้อยละ 66 ของสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะโลกร้อนในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ และในการประชุม COP7 มีการจัดตั้งกองทุนเพื่อให้ความช่วยเหลือประเทศกำลังพัฒนาในการรับมือผลกระทบจากการเปลี่ยนสภาพภูมิอากาศ ในปีเดียวกันนี้ สหรัฐอเมริกาถอนตัวไม่ให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโต เนื่องจากขัดแย้งกับหลักเกณฑ์ที่ทางวุฒิสภาของสหรัฐกำหนดไว้ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 ว่าห้ามมิให้ประธานาธิบดีสหรัฐไปลงนามเป็นภาคีในความตกลงที่มิได้มีพันธกรณีให้ทุกประเทศต้องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) ประเทศไทยให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโต เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม ในฐานะกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาซึ่งไม่มีพันธกรณีในการลดก๊าซเรือนกระจก แต่สามารถดำเนินการลดก๊าซเรือนกระจกตามด้วยความสมัครใจ จีนให้สัตยาบันในปีเดียวกันในฐานะประเทศที่ไม่ต้องลดก๊าซเรือนกระจกเพราะในเวลานั้นจีนเป็นประเทศกำลังพัฒนา

พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) พิธีสารเกียวโตมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ และจะสิ้นสุดในปี พ.ศ. 2555 มีประเทศที่ลงนามและให้สัตยาบันจำนวน 192 ประเทศ

พ.ศ. 2550 (ค.ศ.2007) IPCC เผยแพร่รายงานฉบับที่ 4 (IPCC AR4) ระบุว่าประเทศพัฒนาแล้ว ต้องลดการปล่อยก๊าซให้ได้ 25 – 40% จากระดับที่ปล่อยในปี พ.ศ.2533 (ค.ศ.1990) ให้ได้ภายในปี พ.ศ.2563 (ค.ศ.2020) และประเทศกำลังพัฒนา ต้องลดการปล่อยก๊าซให้ได้ 15 – 30 % จากระดับที่ปล่อยอยู่ปกติ (Business-as-usual) ให้ได้ภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ.2020)

พ.ศ. 2552 (ค.ศ.2009) การประชุม COP15 เมืองโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ค มีเป้าหมายเพ่ือต่ออายุพิธีสารเกียวโตหรือสร้างข้อตกลงใหม่ที่จะมาแทนที่พิธีสารเกียวโตซึ่งจะหมดอายุในอีก 3 ปีข้างหน้า แต่การเจรจาล้มเหลว โดยมติที่ประชุมขอให้ทั้งประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาเสนอเป้าหมายในการลดก๊าซเรือนกระจกตามความสมัครใจโดยการบันทึกไว้ใน Copenhagen Accord ซึ่งถือเป็นความถดถอยจากพิธีสารเกียวโตซึ่งกำหนดตัวเลขเป้าหมายการลดก๊าซฯ สำหรับประเทศพัฒนาแล้วแบบมีผลบังคับ และมีการสัญญาว่าประเทศพัฒนาแล้วจะให้เงินช่วยเหลือประเทศกำลังพัฒนา 10,000 ล้านดอลลาร์ต่อปีภายในช่วงปี พ.ศ. 2553-2555 (แต่ไม่ได้เป็นข้อบังคับ และยังไม่มีรายละเอียดว่าเงินจะมาจากไหน) รวมถึงเป็นครั้งแรกที่มีการกำหนดเป้าหมายที่จะควบคุมอุณหภูมิของโลกไม่ให้เกิน 2 องศาเซลเซียส

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
B.e. 2535 (1992) 2553 May 9 of the United Nations Convention on climate change (United Nations Framework Convention on Climate Change: the UNFCCC) get certificate and each country ratification is open between the Earth Summit meeting in June at 2535 Rio de Janeiro Brazil country. It is the second meeting in 154 countries signed.B.e. 2537 (1994 2017) anusanya effective March 21 2537 currently participating countries are parties, a total of 196 countries (October 2 2558) country ratification Thailand joined as a party anusanya. When December 28The essence of anusanya is that developed countries must reduce greenhouse gas emissions, the emission levels in the year 2533 (1990), within (2000) 2543 (2000), but not to enforce a voluntary action.2538 b.e. (1995). The meeting of the parties to the Member countries, the General Assembly, 1 anusanya (Conference of Parties: COP1) offer without obligation are reviewed, while the tamonusanya of the IPPC report, pointing out that greenhouse gases have increased estimates and believe that human-made climate change. B.e. 2540 (1997). the meeting endorsed COP3 Kyoto Protocol. When December 11 reasons why it is important to prepare a protocol to it, because the operation of the country's greenhouse gas reduction target is not a party member is placed, it is necessary to have a review of the obligations and measures that are more concise details. The essence of the Kyoto Protocol is within – 2553 (2010) 2551 (2008) Developed countries must reduce greenhouse gas emissions an average 5 percent of emissions in developing countries, there is no section 2533 obligations to reduce greenhouse gas emissions can be reduced by voluntary action.B.e. 2544 (2001) IPCC published a report confirming that the No. 3 66 per cent of the causes of global warming during the past 50 years. Caused by human activities and in meeting the COP7 established funds to assist developing countries in dealing impact from climate change. In the same year. United States withdrawal is not on the Kyoto Protocol ratification because of conflicts with the guidelines of the United States Senate was defined that way since b.e. 2540, United to the President that signed an agreement in which the parties are not obligations, all countries must reduce greenhouse gas emissions.B.e. 2545 (2002), countries in the Kyoto Protocol ratification Thailand. August 28, when a group of developing countries in a position where there are no obligations to reduce greenhouse gases, but can be performed with greenhouse gas reduction by voluntary Chinese ratification in the same year as a country that does not need to reduce greenhouse gases, because at that time, China is a developing country.B.e. 2548 (2005), the Kyoto Protocol to take effect. When February 16 and will end in the year, there are countries that have signed and 2555 ratification number of 192 countries. B.e. 2550 (2007), IPCC published a report (IPCC AR4) No. 4 specified that developed countries need to reduce emissions 25-40%, from emissions levels in 2533 (1990) (1990), within 2563 (2020) (2020), and developing countries need to reduce emissions by 15-30%, from emissions levels are normal (Business-as-usual) within the year, 2563 (2020)พ.ศ. 2552 (ค.ศ.2009) การประชุม COP15 เมืองโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ค มีเป้าหมายเพ่ือต่ออายุพิธีสารเกียวโตหรือสร้างข้อตกลงใหม่ที่จะมาแทนที่พิธีสารเกียวโตซึ่งจะหมดอายุในอีก 3 ปีข้างหน้า แต่การเจรจาล้มเหลว โดยมติที่ประชุมขอให้ทั้งประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาเสนอเป้าหมายในการลดก๊าซเรือนกระจกตามความสมัครใจโดยการบันทึกไว้ใน Copenhagen Accord ซึ่งถือเป็นความถดถอยจากพิธีสารเกียวโตซึ่งกำหนดตัวเลขเป้าหมายการลดก๊าซฯ สำหรับประเทศพัฒนาแล้วแบบมีผลบังคับ และมีการสัญญาว่าประเทศพัฒนาแล้วจะให้เงินช่วยเหลือประเทศกำลังพัฒนา 10,000 ล้านดอลลาร์ต่อปีภายในช่วงปี พ.ศ. 2553-2555 (แต่ไม่ได้เป็นข้อบังคับ และยังไม่มีรายละเอียดว่าเงินจะมาจากไหน) รวมถึงเป็นครั้งแรกที่มีการกำหนดเป้าหมายที่จะควบคุมอุณหภูมิของโลกไม่ให้เกิน 2 องศาเซลเซียส
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: