บทคัดย่อ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแล การแปล - บทคัดย่อ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแล อังกฤษ วิธีการพูด

บทคัดย่อ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เ

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนกับดัชนีตลาดหลักทรัพย์ในกลุ่มประเทศอาเซียน 6 ประเทศ อันได้แก่ประเทศไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และเวียดนาม โดยคำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง (Structural break) ซึ่งได้ทำการศึกษาข้อมูลแบบรายเดือน ในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2540 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557 โดยในส่วนแรกได้ทำการทดสอบความนิ่งของข้อมูลด้วยวิธี ADF test, PP test และ วิธีของ Zivot and Andrews (1992) พบว่าการทดสอบความนิ่งด้วยวิธี ADF test และ PP test นั้น ข้อมูลสามารถปฏิเสธสมมติฐานหลักได้ นั่นคือข้อมูลมีความนิ่ง แต่เมื่อทำการทดสอบความนิ่งตามวิธีของ Zivot and Andrews (1992) กลับพบว่ามีช่วงการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกับข้อมูล ซึ่งส่งผลให้ข้อมูลในส่วนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินดอลลาร์สิงคโปร์ต่อดอลลาร์สหรัฐ (SGD/USD) อัตราแลกเปลี่ยนเงินเปโซฟิลิปปินส์ต่อดอลลาร์สหรัฐ (PHP/USD) อัตราแลกเปลี่ยนเงินรูเปียอินโดนีเซียต่อดอลลาร์สหรัฐ (IDR/USD) อัตราแลกเปลี่ยนเงินดองเวียดนามต่อดอลลาร์สหรัฐ (VND/USD) ดัชนีตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ (Straits Times) ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ฟิลิปปินส์ (PSE Composite) และดัชนีตลาดหลักทรัพย์อินโดนีเซีย (JSX Composite) ไม่สามารถปฏิเสธสมมติฐานหลักได้ ซึ่งนั้นอาจจะส่งผลให้การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนกับดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศดังกล่าวมีความน่าเชื่อถือน้อย ในส่วนที่สองได้ทำการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ในระยะยาวของตัวแปรโดยใช้วิธีโครอินทิเกรชั่น (Cointegration) ของ Engle and Granger (1987) ผลการศึกษาพบว่าตัวแปรอัตราแลกเปลี่ยนในแบบจำลองมีนัยสำคัญทุกตัว โดยความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนเงินต่อดอลลาร์สหรัฐกับดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนามเฉพาะตลาดหลักทรัพย์ฮานอย มีความสัมพันธ์ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ คือเมื่ออัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้น (ค่าเงินอ่อนค่าลง) จะส่งผลให้ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ลดลง แต่ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนเงินต่อดอลลาร์สหรัฐกับดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศอินโดนีเซีย และเวียดนามต่อตลาดหลักทรัพย์ฮานอยเท่านั้นที่มีเครื่องหมายสัมประสิทธิ์ไม่ตรงตามสมมติฐาน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Abstracts การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนกับดัชนีตลาดหลักทรัพย์ในกลุ่มประเทศอาเซียน 6 ประเทศ อันได้แก่ประเทศไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และเวียดนาม โดยคำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง (Structural break) ซึ่งได้ทำการศึกษาข้อมูลแบบรายเดือน ในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2540 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557 โดยในส่วนแรกได้ทำการทดสอบความนิ่งของข้อมูลด้วยวิธี ADF test, PP test และ วิธีของ Zivot and Andrews (1992) พบว่าการทดสอบความนิ่งด้วยวิธี ADF test และ PP test นั้น ข้อมูลสามารถปฏิเสธสมมติฐานหลักได้ นั่นคือข้อมูลมีความนิ่ง แต่เมื่อทำการทดสอบความนิ่งตามวิธีของ Zivot and Andrews (1992) กลับพบว่ามีช่วงการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกับข้อมูล ซึ่งส่งผลให้ข้อมูลในส่วนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินดอลลาร์สิงคโปร์ต่อดอลลาร์สหรัฐ (SGD/USD) อัตราแลกเปลี่ยนเงินเปโซฟิลิปปินส์ต่อดอลลาร์สหรัฐ (PHP/USD) อัตราแลกเปลี่ยนเงินรูเปียอินโดนีเซียต่อดอลลาร์สหรัฐ (IDR/USD) อัตราแลกเปลี่ยนเงินดองเวียดนามต่อดอลลาร์สหรัฐ (VND/USD) ดัชนีตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ (Straits Times) ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ฟิลิปปินส์ (PSE Composite) และดัชนีตลาดหลักทรัพย์อินโดนีเซีย (JSX Composite) ไม่สามารถปฏิเสธสมมติฐานหลักได้ ซึ่งนั้นอาจจะส่งผลให้การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนกับดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศดังกล่าวมีความน่าเชื่อถือน้อย ในส่วนที่สองได้ทำการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ในระยะยาวของตัวแปรโดยใช้วิธีโครอินทิเกรชั่น (Cointegration) ของ Engle and Granger (1987) ผลการศึกษาพบว่าตัวแปรอัตราแลกเปลี่ยนในแบบจำลองมีนัยสำคัญทุกตัว โดยความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนเงินต่อดอลลาร์สหรัฐกับดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนามเฉพาะตลาดหลักทรัพย์ฮานอย มีความสัมพันธ์ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ คือเมื่ออัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้น (ค่าเงินอ่อนค่าลง) จะส่งผลให้ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ลดลง แต่ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนเงินต่อดอลลาร์สหรัฐกับดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศอินโดนีเซีย และเวียดนามต่อตลาดหลักทรัพย์ฮานอยเท่านั้นที่มีเครื่องหมายสัมประสิทธิ์ไม่ตรงตามสมมติฐาน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ABSTRACT This study aimed to investigate the relationship between exchange rates and stock indexes in the ASEAN 6 countries, including Thailand, Singapore, Malaysia, the Philippines, Indonesia and Vietnam, taking into account the structural changes (Structural break), which has studied data on a monthly basis. In the period January 2540 to December 2557 by the first test of stability by ADF test, PP test method of Zivot and Andrews (1992) found that the test stillness. with ADF test PP test and that information can not reject the null hypothesis. That information is still However, when tested by the smoothness of Zivot and Andrews (1992) found that the changes made ​​to the data. Which resulted in the exchange rate of the Singapore dollar against the US dollar (SGD / USD) exchange rate Philippine peso against the US dollar (PHP / USD) exchange rate Indonesian Rupiah against the US dollar (IDR / USD) rate. exchange Vietnamese dong against the US dollar (VND / USD) Index Singapore exchange (Straits Times) Philippine stock exchange (PSE Composite) index and the Indonesia stock exchange (JSX Composite) can not reject the null hypothesis has. Which may result in an analysis of the relationship between exchange rates and stock market indices of these countries are less reliable. In the second part was to analyze the relationship in the long term by means of a variable Crow integrated applications. (Cointegration) of Engle and Granger (1987) study found that the variable exchange rates on all models significantly. The relationship between the exchange rate with the US Securities Exchange of Thailand, Singapore, Malaysia, the Philippines and Vietnam, the Hanoi Stock Exchange. A relationship based on the hypothesis. When the exchange rate rises (Dollar weakness) will result in a stock market index fell. But the relationship between the exchange rate to the US dollar, with the index of the Indonesia Stock Exchange. Vietnam and the Hanoi Stock Exchange, only with a coefficient does not meet the assumptions.


การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Abstract.This study aimed to investigate the relationship between exchange rate and stock market index 6 in Asian country. The Thailand, Singapore, Malaysia, the Philippines, Indonesia and Vietnam reached by considering structural changes (Structural. Break) which was measured monthly in the January 2005. 2540 December. The 2557 by in the first test stationarity of the data with the method. ADF test PP test, and method of Zivot and Andrews (1992) found that the test method and ADF still test PP test. Data can deny the main hypotheses. That is, data are silent, but when tested the smoothness method of Zivot and Andrews (1992) it was found that there are ช่วงการ change happened with the data. Which results in the information of the Singapore dollar exchange rate against the US dollar (SGD / USD) rate against the US dollar, the Philippine Peso (PHP / USD) rupiah Indonesia exchange rate against the US dollar (IDR / USD) exchange rate against the US dollar (Dong Vietnam VND / USD). Singapore Stock Exchange Index (Straits Times) index the Philippine Stock Exchange (PSE Composite) index and stock market. (JSX Composite) cannot deny the main hypotheses. Which may result to analyze the relationship between the exchange rate and the index stock of such countries are less reliable. In the second part, analyze the correlation of variables by using long term macro เกรชั integrator and (Cointegration) of Engle and Granger. (1987). The results showed that the exchange rate in the model variables significantly all. The relationship between the exchange rate against the US dollar and the stock market index of Thailand, Singapore, Malaysia, Philippines. And Vietnam only stock Hanoi. A relationship based on hypothesis. When the exchange rate is increased (the weakened) will result in the stock index decreased. But the relationship between exchange rate against the US dollar and the stock market index of countries And Vietnam Hanoi only with the facilities to the stock exchange.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: