บทความพิเศษ ฟ้องหมิ่นประมาทบน Facebook ได้ด้วย พรบ.คอม 50 มาตรา 14 มกร การแปล - บทความพิเศษ ฟ้องหมิ่นประมาทบน Facebook ได้ด้วย พรบ.คอม 50 มาตรา 14 มกร อังกฤษ วิธีการพูด

บทความพิเศษ ฟ้องหมิ่นประมาทบน Faceb

บทความพิเศษ
ฟ้องหมิ่นประมาทบน Facebook ได้ด้วย พรบ.คอม 50 มาตรา 14
มกราคม 19, 2015 คเณศ อธิรัตนกรัณฑ์ 3 Comments คดีหมิ่น, พรบ.คอม, มาตรา ๑๔, หมิ่นประมาท



หากคุณถูกกล่าวหาหรือทำให้เสียหายด้วยข้อความ รูปภาพ หรือสื่ออันเป็นเท็จ คุณสามารถฟ้องหมิ่นประมาทได้เลย โดยจะไปแจ้งความที่โรงพักด้วยตนเอง หรือถ้ามีทนายก็จะทำให้เดินเรื่องได้เร็วกว่า



ถ้าจะไปแจ้งความด้วยตัวเอง แต่ยังไม่แน่ใจว่าผิดแบบไหนถึงจะฟ้องร้องได้ ขอแนะนำให้ไปสอบถามกับตำรวจเลย หรือคิดวิเคราะห์ตามรานละเอียดในมาตรา 14

มาตรา ๑๔
ผู้ใดกระทำความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(๑) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน
(๒) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน
(๓) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
(๔) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามก และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้
(๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔)

ในส่วนของการหมิ่นประมาทผ่านเฟสบุ๊คจะเข้าข่ายข้อ 1 ความผิดในข้อนี้แหล่ะที่อัยการจะใช้ส่งฟ้อง

แต่ประเด็นคือความผิดแบบไหนที่ฟ้องได้ และแบบไหนที่ไม่ควรฟ้อง

วิธีวิเคราะห์
1. ต้องเป็นสิ่งที่ “ไม่จริง” เช่น เขากล่าวหาว่าเป็นขโมย ถ้าไม่จริงก็ฟ้องได้
2. “คำด่า” ก็ฟ้องได้ เช่น ถูกด่าว่าเป็นกระหรี่ ถ้าคุณไม่ใช่กระหรี่ตามคำที่เขาว่า หรืิอใช้คำพูดอื่นๆในลักษณะที่เป็นเท็จก็ฟ้องได้เลย
3. คำ “วิจารณ์” อาจฟ้องไม่ได้ เช่น อาหารที่ร้านคุณไม่อร่อย แม้ว่าคุณจะบอกว่ามันอร่อย แต่เขาก็มีสิทธิคิดต่างในฐานะที่มันเป็นบริการสาธารณะ แต่ถ้าเขาบอกว่าร้านคุณมีแต่แมงสาบทั้งๆที่มันไม่จริง แบบนี้ถึงจะฟ้องได้เพราะเป็นข้อมูลเท็จ
4. “การปลอมแปลง” ก็ถือว่าเป็นข้อมูลเท็จ เช่น ถูกปลอมเฟสบุ๊ค แบบนี้ฟ้องร้องได้

สรุปและข้อแนะนำ
ถ้าคุณทุกข์ใจอย่างมากกับการถูกหมิ่นประมาท ทางออกที่ดีที่สุดคือไปแจ้งความ จะเด็กหรือผู้ใหญ่ก็แจ้งความได้เหมือนกัน(เด็กอาจต้องพาผู้ปกครองไปด้วย) และสิ่งที่ควรทราบ Facebook ไม่ใช่ผู้ผดุงความยุติธรรม มีปัญหาต้องพยายามเคลียร์กันเอง

///////////://///////////////////////////////


การฟ้องคดี เมื่อโดนด่าบน Facebook
--------------------------------------
โดยปกติ เมื่อพบเจอคนที่ใช้คำหยาบ เราสามารถลบเพื่อนออก บล็อก หรือรายงานความประพฤติมิชอบไปยังระบบได้ …แต่ถ้าเราเป็นฝ่ายโดนด่า จนเกิดความเสียหายแก่ชื่อเสียง นอกจากจะใช้วิธีดังกล่าวแล้ว สามารถใช้วิธีทางกฏหมายเพื่อเอาผิดกับผู้ที่ด่าหรือใส่ร้ายเราได้

ดังนั้นพึงระลึกว่า Facebook ไม่ใช่เวทีด่าฟรี หากผู้เสียหายมีหลักฐานที่ชัดเจนก็สามารถเอาผิดได้ ซึ่งคดีในลักษณะนี้เคยเกิดขึ้นมาแล้ว เพียงแต่บนเว็บ Facebook นั้นไม่ค่อยเห็นกันเท่าไหร่ …แต่การเอาผิดบน Facebook นั้นอาจจะง่ายกว่าเว็บไหนๆ เพราะหลายคนมีตัวตนชัดเจน รู้ว่าใครเป็นใคร

ความผิดที่จะฟ้องได้
-------------------
คดีหมิ่นประมาท
มาตรา 328 ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาทได้กระทำโดยการโฆษณา ด้วยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรือตัวอักษรที่ ทำให้ปรากฏด้วยวิธีใด ๆ แผ่นเสียง หรือสิ่งบันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกอักษร กระทำโดยการกระจายเสียง หรือการกระจายภาพ หรือโดยกระทำการป่าวประกาศด้วยวิธีอื่น ผู้กระทำต้องระวางโทษ จำคุกไม่เกินสองปีและปรับไม่เกินสองแสนบาท

***ดังนั้น ถ้าถูกใครด่า หรือใส่ร้ายผ่าน Facebook ก็ฟ้องดำเนินคดีด้วยกฏหมายมาตรานี้ได้ มีโทษคือจำคุกไม่เกินสองปีและปรับไม่เกินสองแสนบาท
---------------------------

**การบันทึกหลักฐาน**
------------------
1. ใช้โปรแกรมจับภาพหน้าจอ ถ่ายภาพส่วนที่เป็นข้อความหมิ่นประมาท และบันทึกไว้ทั้งหน้า Facebook ด้วย

2. ใช้โปรแกรมถ่ายภาพหน้าจอเป็นวิดีโอบันทึกไว้ หรือ ใช้กล้องที่ถ่ายวิดีโอได้ บันทึกภาพในขั้นตอนการเปิด Facebook และคลิ๊กเข้าไปดูข้อความหมิ่นประมาท …เพื่อลบข้อครหาว่าหลักฐานเป็นภาพตัดต่อ (เพราะการหลักฐานเท็จ ที่เป็นโพสและการแสดงความคิกเห็นบน Facebook สามารถทำได้) แต่การถ่ายภาพเป็นวิดีโอไว้ด้วย จะทำให้หลักฐานมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น

การดำเนินคดี มี 2 แบบ
1. ร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน สอบสวนเสร็จก็จะส่งสำนวนไปยังพนักงานอัยการ พิจารณาว่าจะฟ้องหรือไม่ หากฟ้องก็ยื่นฟ้องต่อศาล

2. จ้างทนายมาฟ้อง …ซึ่งจะเป็นวิธีการที่รวดเร็วทันใจกว่า

กรณีที่ข้อความหมิ่นเป็นความจริง
--------------------------------
มาตรา 330 ในกรณีหมิ่นประมาท ถ้าผู้ถูกหาว่ากระทำความผิด พิสูจน์ได้ว่าข้อที่หาว่าเป็นหมิ่นประมาทนั้นเป็นความจริง ผู้นั้นไม่ต้อง รับโทษ แต่ห้ามไม่ให้พิสูจน์ ถ้าข้อที่หาว่าเป็นหมิ่นประมาทนั้นเป็นการใส่ ความในเรื่องส่วนตัว และการพิสูจน์จะไม่เป็นประโยชน์แก่ประชาชน




0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทความพิเศษ ฟ้องหมิ่นประมาทบน Facebook ได้ด้วย พรบ.คอม 50 มาตรา 14 มกราคม 19, 2015 คเณศ อธิรัตนกรัณฑ์ 3 Comments คดีหมิ่น, พรบ.คอม, มาตรา ๑๔, หมิ่นประมาท หากคุณถูกกล่าวหาหรือทำให้เสียหายด้วยข้อความ รูปภาพ หรือสื่ออันเป็นเท็จ คุณสามารถฟ้องหมิ่นประมาทได้เลย โดยจะไปแจ้งความที่โรงพักด้วยตนเอง หรือถ้ามีทนายก็จะทำให้เดินเรื่องได้เร็วกว่าถ้าจะไปแจ้งความด้วยตัวเอง แต่ยังไม่แน่ใจว่าผิดแบบไหนถึงจะฟ้องร้องได้ ขอแนะนำให้ไปสอบถามกับตำรวจเลย หรือคิดวิเคราะห์ตามรานละเอียดในมาตรา 14มาตรา ๑๔ผู้ใดกระทำความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ(๑) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน(๒) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน(๓) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา(๔) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามก และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้(๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔)ในส่วนของการหมิ่นประมาทผ่านเฟสบุ๊คจะเข้าข่ายข้อ 1 ความผิดในข้อนี้แหล่ะที่อัยการจะใช้ส่งฟ้องแต่ประเด็นคือความผิดแบบไหนที่ฟ้องได้ และแบบไหนที่ไม่ควรฟ้องวิธีวิเคราะห์1. ต้องเป็นสิ่งที่ “ไม่จริง” เช่น เขากล่าวหาว่าเป็นขโมย ถ้าไม่จริงก็ฟ้องได้2. “คำด่า” ก็ฟ้องได้ เช่น ถูกด่าว่าเป็นกระหรี่ ถ้าคุณไม่ใช่กระหรี่ตามคำที่เขาว่า หรืิอใช้คำพูดอื่นๆในลักษณะที่เป็นเท็จก็ฟ้องได้เลย3. คำ “วิจารณ์” อาจฟ้องไม่ได้ เช่น อาหารที่ร้านคุณไม่อร่อย แม้ว่าคุณจะบอกว่ามันอร่อย แต่เขาก็มีสิทธิคิดต่างในฐานะที่มันเป็นบริการสาธารณะ แต่ถ้าเขาบอกว่าร้านคุณมีแต่แมงสาบทั้งๆที่มันไม่จริง แบบนี้ถึงจะฟ้องได้เพราะเป็นข้อมูลเท็จ4. “การปลอมแปลง” ก็ถือว่าเป็นข้อมูลเท็จ เช่น ถูกปลอมเฟสบุ๊ค แบบนี้ฟ้องร้องได้
สรุปและข้อแนะนำ
ถ้าคุณทุกข์ใจอย่างมากกับการถูกหมิ่นประมาท ทางออกที่ดีที่สุดคือไปแจ้งความ จะเด็กหรือผู้ใหญ่ก็แจ้งความได้เหมือนกัน(เด็กอาจต้องพาผู้ปกครองไปด้วย) และสิ่งที่ควรทราบ Facebook ไม่ใช่ผู้ผดุงความยุติธรรม มีปัญหาต้องพยายามเคลียร์กันเอง

///////////://///////////////////////////////


การฟ้องคดี เมื่อโดนด่าบน Facebook
--------------------------------------
โดยปกติ เมื่อพบเจอคนที่ใช้คำหยาบ เราสามารถลบเพื่อนออก บล็อก หรือรายงานความประพฤติมิชอบไปยังระบบได้ …แต่ถ้าเราเป็นฝ่ายโดนด่า จนเกิดความเสียหายแก่ชื่อเสียง นอกจากจะใช้วิธีดังกล่าวแล้ว สามารถใช้วิธีทางกฏหมายเพื่อเอาผิดกับผู้ที่ด่าหรือใส่ร้ายเราได้

ดังนั้นพึงระลึกว่า Facebook ไม่ใช่เวทีด่าฟรี หากผู้เสียหายมีหลักฐานที่ชัดเจนก็สามารถเอาผิดได้ ซึ่งคดีในลักษณะนี้เคยเกิดขึ้นมาแล้ว เพียงแต่บนเว็บ Facebook นั้นไม่ค่อยเห็นกันเท่าไหร่ …แต่การเอาผิดบน Facebook นั้นอาจจะง่ายกว่าเว็บไหนๆ เพราะหลายคนมีตัวตนชัดเจน รู้ว่าใครเป็นใคร

ความผิดที่จะฟ้องได้
-------------------
คดีหมิ่นประมาท
มาตรา 328 ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาทได้กระทำโดยการโฆษณา ด้วยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรือตัวอักษรที่ ทำให้ปรากฏด้วยวิธีใด ๆ แผ่นเสียง หรือสิ่งบันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกอักษร กระทำโดยการกระจายเสียง หรือการกระจายภาพ หรือโดยกระทำการป่าวประกาศด้วยวิธีอื่น ผู้กระทำต้องระวางโทษ จำคุกไม่เกินสองปีและปรับไม่เกินสองแสนบาท

***ดังนั้น ถ้าถูกใครด่า หรือใส่ร้ายผ่าน Facebook ก็ฟ้องดำเนินคดีด้วยกฏหมายมาตรานี้ได้ มีโทษคือจำคุกไม่เกินสองปีและปรับไม่เกินสองแสนบาท
---------------------------

**การบันทึกหลักฐาน**
------------------
1. ใช้โปรแกรมจับภาพหน้าจอ ถ่ายภาพส่วนที่เป็นข้อความหมิ่นประมาท และบันทึกไว้ทั้งหน้า Facebook ด้วย

2. ใช้โปรแกรมถ่ายภาพหน้าจอเป็นวิดีโอบันทึกไว้ หรือ ใช้กล้องที่ถ่ายวิดีโอได้ บันทึกภาพในขั้นตอนการเปิด Facebook และคลิ๊กเข้าไปดูข้อความหมิ่นประมาท …เพื่อลบข้อครหาว่าหลักฐานเป็นภาพตัดต่อ (เพราะการหลักฐานเท็จ ที่เป็นโพสและการแสดงความคิกเห็นบน Facebook สามารถทำได้) แต่การถ่ายภาพเป็นวิดีโอไว้ด้วย จะทำให้หลักฐานมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น

การดำเนินคดี มี 2 แบบ
1. ร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน สอบสวนเสร็จก็จะส่งสำนวนไปยังพนักงานอัยการ พิจารณาว่าจะฟ้องหรือไม่ หากฟ้องก็ยื่นฟ้องต่อศาล

2. จ้างทนายมาฟ้อง …ซึ่งจะเป็นวิธีการที่รวดเร็วทันใจกว่า

กรณีที่ข้อความหมิ่นเป็นความจริง
--------------------------------
มาตรา 330 ในกรณีหมิ่นประมาท ถ้าผู้ถูกหาว่ากระทำความผิด พิสูจน์ได้ว่าข้อที่หาว่าเป็นหมิ่นประมาทนั้นเป็นความจริง ผู้นั้นไม่ต้อง รับโทษ แต่ห้ามไม่ให้พิสูจน์ ถ้าข้อที่หาว่าเป็นหมิ่นประมาทนั้นเป็นการใส่ ความในเรื่องส่วนตัว และการพิสูจน์จะไม่เป็นประโยชน์แก่ประชาชน




การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: