วัดพระแท่นศิลาอาสน์ ตั้งอยู่บ้านพระแท่น ตำบลทุ่งยั้ง อำเภอลับแล จังหวั การแปล - วัดพระแท่นศิลาอาสน์ ตั้งอยู่บ้านพระแท่น ตำบลทุ่งยั้ง อำเภอลับแล จังหวั ญี่ปุ่น วิธีการพูด

วัดพระแท่นศิลาอาสน์ ตั้งอยู่บ้านพระ

วัดพระแท่นศิลาอาสน์
ตั้งอยู่บ้านพระแท่น ตำบลทุ่งยั้ง อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ห่างจากตัวจังหวัด 14 กิโลเมตร อยู่เลยวัดพระยืนไปเล็กน้อย
ความเป็นมา เดิมชื่อ วัดมหาธาตุ เป็นวัดโบราณ ปรากฏในหนังสือพระราชพงศาวดารในรัชสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระองค์ได้เสด็จนมัสการพระแท่นศิลาอาสน์เมื่อปี พ.ศ.2283 แสดงว่า
พระแท่นศิลาอาสน์ได้มีมาก่อนหน้านี้แล้ว เป็นที่เคารพสักการะของคนทั่วไปอย่างกว้างขวาง
เมื่อปีพ.ศ. 2451 ไฟไหม้ป่ามณฑปและวิหารเหลือแต่แท่นศิลาแลง รัชกาลที่ 5 โปรดให้ปฏิสังขรณ์ใหม่ บานประตูวิหารพระแท่นศิลาอาสน์ที่เคยเป็นไม้แกะสลักนั้น เคยเป็นประตูวิหารพระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลกมาก่อน
สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานว่า พระแท่นศิลาอาสน์อาจมีมาก่อนแล้วช้านาน ก่อนที่พระเจ้าบรมโกศเสด็จไปบูชา เพราะพระแท่นศิลาอาสน์อยู่ริมเมืองทุ่งยั้ง ซึ่งตั้งมาแต่ครั้งสมัยสุโขทัย และบางทีชื่อทุ่งยั้งนั่นเอง จะเป็นนิมิตให้เกิดมีพระแท่นเป็นที่พระพุทธเจ้าประทับยับยั้ง เมื่อเสด็จผ่านมาทางนั้น
ในทางตำนานมีคติทีเชื่อว่า พระพุทธเจ้าได้เสด็จยังพื้นที่ใดๆ ภายนอกอินเดียด้วยอิทธิฤทธิ์ฌานสมาบัติ และได้ประดิษฐานเจดีย์ หรือตรัสพยากรณ์อะไรไว้ใน ณ แห่งนั้น เป็นคติที่เกิดในลังกาทวีป และประเทศอื่นได้รับเอาไปเชื่อถือด้วย จึงเกิดมีเจดีย์วัตถุและพุทธพยาการณ์ ที่อ้างว่าพระพุทธองค์ได้ทรงประดิษฐานเจดีย์ไว้มากบ้างน้อยบ้างทุกประเทศ เฉพาะเมืองไทยมีปรากฏในพงศาวดาร โดยลำดับมาว่า พบรอยพระพุทธบาท ณ ไหล่เขาสุวรรณบรรพต เมื่อรัชสมัยพระเจ้าทรงธรรม รัชกาลพระเจ้าเสือได้เสด็จไปบูชา พระพุทธฉาย ณ เขาปัถวี และ พระบรมโกศ เสด็จไปบูชาพระแท่นศิลาอาสน์
สิ่งที่น่าสนใจเป็นพิเศษ
พระแท่นศิลาอาสน์ เป็นศิลาแลงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ฐานของพระแท่นโดยรอบประดับด้วยลายกลีบบัว มีตำนานว่า พระพุทธเจ้าเมื่อครั้งเป็นพระโพธิสัตว์เคยเสด็จมาจำศีลบำเพ็ญพุทธบารมี ณ ที่แห่งนี้ ต่อมาจึงมีการสร้างพระแท่นศิลาอาสน์ขึ้น
พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น เป็นที่แสดงเครื่องมือจับสัตว์น้ำโบราณ เรือพายโบราณ ชั้นบน แสดงเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตชาววัง ชาวบ้านสมัยก่อน เครื่องจักสาน เครื่องมือตีเหล็ก ก่อสร้าง เครื่องสังฆโลกสมัยสุโขทัย ธรรมาสน์โบราณ พระพุทธรูปที่แกะจากไม้ ต้นโพธิ์โบราณ และพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย สมัยกรุงศรีอยุธยา รวมถึงศิลปวัฒนธรรมของชาวเหนือ

เทศกาลงานประเพณี
งานนมัสการพระแท่นศิลาอาสน์ งานบุญเดือน 3 ซึ่งมีมานานหลายชั่วอายุคนแล้ว มีกิจกรรมทางวัฒนธรรมท้องถิ่น การจำหน่ายสินค้าพื้นเมืองแบบโบราณ (ปี 2544 การจัดงานตรงกับวันที่ 10-20 กุมภาพันธ์ 2544)


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ญี่ปุ่น) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วัดพระแท่นศิลาอาสน์ ตั้งอยู่บ้านพระแท่น ตำบลทุ่งยั้ง อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ห่างจากตัวจังหวัด 14 กิโลเมตร อยู่เลยวัดพระยืนไปเล็กน้อย ความเป็นมา เดิมชื่อ วัดมหาธาตุ เป็นวัดโบราณ ปรากฏในหนังสือพระราชพงศาวดารในรัชสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระองค์ได้เสด็จนมัสการพระแท่นศิลาอาสน์เมื่อปี พ.ศ.2283 แสดงว่าพระแท่นศิลาอาสน์ได้มีมาก่อนหน้านี้แล้ว เป็นที่เคารพสักการะของคนทั่วไปอย่างกว้างขวาง เมื่อปีพ.ศ. 2451 ไฟไหม้ป่ามณฑปและวิหารเหลือแต่แท่นศิลาแลง รัชกาลที่ 5 โปรดให้ปฏิสังขรณ์ใหม่ บานประตูวิหารพระแท่นศิลาอาสน์ที่เคยเป็นไม้แกะสลักนั้น เคยเป็นประตูวิหารพระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลกมาก่อน สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานว่า พระแท่นศิลาอาสน์อาจมีมาก่อนแล้วช้านาน ก่อนที่พระเจ้าบรมโกศเสด็จไปบูชา เพราะพระแท่นศิลาอาสน์อยู่ริมเมืองทุ่งยั้ง ซึ่งตั้งมาแต่ครั้งสมัยสุโขทัย และบางทีชื่อทุ่งยั้งนั่นเอง จะเป็นนิมิตให้เกิดมีพระแท่นเป็นที่พระพุทธเจ้าประทับยับยั้ง เมื่อเสด็จผ่านมาทางนั้น ในทางตำนานมีคติทีเชื่อว่า พระพุทธเจ้าได้เสด็จยังพื้นที่ใดๆ ภายนอกอินเดียด้วยอิทธิฤทธิ์ฌานสมาบัติ และได้ประดิษฐานเจดีย์ หรือตรัสพยากรณ์อะไรไว้ใน ณ แห่งนั้น เป็นคติที่เกิดในลังกาทวีป และประเทศอื่นได้รับเอาไปเชื่อถือด้วย จึงเกิดมีเจดีย์วัตถุและพุทธพยาการณ์ ที่อ้างว่าพระพุทธองค์ได้ทรงประดิษฐานเจดีย์ไว้มากบ้างน้อยบ้างทุกประเทศ เฉพาะเมืองไทยมีปรากฏในพงศาวดาร โดยลำดับมาว่า พบรอยพระพุทธบาท ณ ไหล่เขาสุวรรณบรรพต เมื่อรัชสมัยพระเจ้าทรงธรรม รัชกาลพระเจ้าเสือได้เสด็จไปบูชา พระพุทธฉาย ณ เขาปัถวี และ พระบรมโกศ เสด็จไปบูชาพระแท่นศิลาอาสน์ สิ่งที่น่าสนใจเป็นพิเศษ พระแท่นศิลาอาสน์ เป็นศิลาแลงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ฐานของพระแท่นโดยรอบประดับด้วยลายกลีบบัว มีตำนานว่า พระพุทธเจ้าเมื่อครั้งเป็นพระโพธิสัตว์เคยเสด็จมาจำศีลบำเพ็ญพุทธบารมี ณ ที่แห่งนี้ ต่อมาจึงมีการสร้างพระแท่นศิลาอาสน์ขึ้น พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น เป็นที่แสดงเครื่องมือจับสัตว์น้ำโบราณ เรือพายโบราณ ชั้นบน แสดงเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตชาววัง ชาวบ้านสมัยก่อน เครื่องจักสาน เครื่องมือตีเหล็ก ก่อสร้าง เครื่องสังฆโลกสมัยสุโขทัย ธรรมาสน์โบราณ พระพุทธรูปที่แกะจากไม้ ต้นโพธิ์โบราณ และพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย สมัยกรุงศรีอยุธยา รวมถึงศิลปวัฒนธรรมของชาวเหนือ เทศกาลงานประเพณี งานนมัสการพระแท่นศิลาอาสน์ งานบุญเดือน 3 ซึ่งมีมานานหลายชั่วอายุคนแล้ว มีกิจกรรมทางวัฒนธรรมท้องถิ่น การจำหน่ายสินค้าพื้นเมืองแบบโบราณ (ปี 2544 การจัดงานตรงกับวันที่ 10-20 กุมภาพันธ์ 2544)

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: