วัฒนธรรมการกินชาวจีนไคว่จึ หรือ ตะเกียบนับเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่า การแปล - วัฒนธรรมการกินชาวจีนไคว่จึ หรือ ตะเกียบนับเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่า อังกฤษ วิธีการพูด

วัฒนธรรมการกินชาวจีนไคว่จึ หรือ ตะเ

วัฒนธรรมการกินชาวจีน
ไคว่จึ หรือ ตะเกียบนับเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่าอย่างหนึ่งของจีน ทั้งยังเป็นอุปกรณ์ในการรับประทานอาหารที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นในระดับโลก ตะเกียบได้รับการขนานนามจากชาวตะวันตกว่าเป็น “อารยธรรมของโลกตะวันออก” คนจีนเริ่มใช้ตะเกียบตั้งแต่สมัยราชวงศ์ซางหรือนานกว่า 3,000 ปีมาแล้ว ในยุคก่อนราชวงศ์ฉิน ตะเกียบมีชื่อเรียกว่า “挟” (jiā, จยา) ต่อมาในสมัยราชวงศ์ฉินและราชวงศ์ฮั่นเรียกตะเกียบว่า “箸” (zhù, จู้) แต่เนื่องจากคนจีนสมัยโบราณเชื่อถือเรื่องโชคลาง จึงถือว่าคำว่า “จู้” ซึ่งไปพ้องเสียงกับคำว่า “住” (zhù, จู้) ที่หมายถึง หยุด มีความหมายไม่เป็นมงคล ดังนั้นจึงเปลี่ยนมาเรียกว่า “筷” (kuài, ไคว่) ซึ่งพ้องเสียงกับคำว่า “เร็ว” แทน และนี่ก็คือที่มาของชื่อเรียกของตะเกียบ ชนชาติจีนเป็นหนึ่งใน 3 ชนชาติที่เป็นเจ้าแห่งวัฒนธรรมการ กิน อีก 2 ชนชาตินั้น ได้แก่ กรีก และโรมัน อาหารนานาชนิด ที่เกิดขึ้นในโลกนี้ ได้รับอิทธิพล การกินจากประเทศจีนเป็นส่วนใหญ่ เช่น เส้นสปาเก็ตตี้ที่เรากินกันอยู่นี้ก็มีกำเนิดมาจากเส้นก๋วยเตี๋ยวของ จีนนั่นเอง เมื่อเริ่มมี การติดต่อซื้อขายกันฝรั่งได้ชิมรสของ ก๋วยเตี๋ยวเกิด ติดใจจึงนำสูตรการทำไปเผยแพร่ในประเทศของตน และปรับปรุงดัดแปลงให้เข้ากับวัฒนธรรม ของตนจนเกิดเป็นอาหารเส้นต่างๆมากมาย และแพร่หลายไปทั่วโลกจนเกิดความเข้าใจผิดว่าเส้นสปา เก็ตตี้ และเส้นมัก กะโรนี ทั้งหลายมีต้นตำรับ เป็นชนชาติยุโรปชนชาติจีนนี้เป็นชนชาติแรกที่รู้จักการใช้ไฟทำให้อาหารสุก รู้จักการเลี้ยงสัตว์ การปลูกผักเพื่อนำมาเป็นอาหาร และการนำโลหะมาประดิษฐ์ ขึ้นเป็นภาชนะหุงต้ม นี่เป็นส่วนแรกที่บอกได้ว่าคนจีนให้ความสำคัญต่อการกินเป็นอย่างมาก ชาว จีนมีเคล็ดลับการปรุงอาหารมากมาย รวมทั้งอาหาร ต่างๆ ส่วนใหญ่ยังเป็นยาชั้นยอดอีกด้วย สิ่งที่มีความน่าสนใจอีกอย่างหนึ่ง ได้แก่ มารยาทการกินอาหารของคนจีน จากตำราว่าด้วยธรรมเนียม การกินของคนจีนสมัยโบราณที่ถือกันมานานเป็นพันปี กำหนดไว้ว่า ถ้าแขกที่ได้รับเชิญไปกินอาหารมีตำแหน่งราชการต่ำกว่าผู้เป็นเจ้าภาพ ก่อนจะนั่งโต๊ะ ผู้น้อยที่เป็นแขก ควรแสดงความไม่บังควรที่จะร่วมโต๊ะกับผู้ใหญ่ จะนั่งลงได้ก็ต่อเมื่อผู้ใหญ่คะยั้นคะยอ อย่าเพิ่งลงมือกินจนกว่าจะเห็นผู้ใหญ่ใช้ตะเกียบคีบอาหารชิ้นแรกเข้าปาก และเมื่อจะคีบอาหารกินบ้าง ก็ต้องเลือก ชิ้นที่เล็ก และอร่อยน้อยที่สุด อย่าเลือกชิ้นอร่อยที่สุดเช่นส่วนที่เป็นหัวพุงหัวมันกินก่อนเป็นอันขาด เพราะเป็นการ เสียมารยาทอย่างร้ายแรง จะได้กินของดีที่สุดในจานหนึ่ง ๆ ก็จะต้องคอยจนกว่าจะเป็นผู้ใหญ่จริง ๆ ที่คนต่ำยศกว่า เราเชิญไปกิน ถ้าเจ้าภาพไม่เชิญดื่มสุราล้างปากระหว่างจาน อย่ายกแก้วหรือจอกขึ้นดื่มเองโดยลำพังเป็นอันขาด ต้องคอยให้ ผู้มีอาวุโสเขาชวนดื่มจึงค่อยดื่ม เวลากินอาหารไม่ควรส่งเสียงดัง ไม่ควรใช้ฟันหน้าแทะกระดูกกันในโต๊ะอาหาร และชิ้นปลาที่กัดแล้ว ไม่มีการวาง กลับลงในจานจะต้องกินทั้งชิ้น โดยเลือกเอาแต่ชิ้นที่กินได้พอดีคำ เนื้อสัตว์ที่ต้ม ตุ๋น หรือทอดจนนุ่ม หรือกรอบแล้ว สามารถใช้ฟันกัดแบ่งกินทีละคำได้ แต่ถ้าเป็นเนื้อที่แห้งเหนียว ต้องใช้มีดตัดให้ขาดเป็นชิ้นเสียก่อน แล้วจึงใช้ตะเกียบคีบเข้าปาก การฉีกเนื้อเหนียวด้วยมือ แล้วป้อนเข้าปากนั้น ถือเป็นกิริยาที่ไม่สุภาพ กฎอีกข้อที่เห็นจะลืมกล่าวไปไม่ได้นั่นคือ เมื่อกินซุปจะต้องไม่เติมอะไรเลย เว้นแต่น้ำซุปหูหลามที่เขาเอาน้ำส้มจิ๊กโฉ่มาให้เติม ถ้าใครเติม ซอสใดๆ ลงไปในซุป เจ้าของบ้านจะขอโทษ และบอกว่า “หมดสติปัญญาที่จะปรุงซุปที่รสชาติดีกว่านี้ไว้รับรองท่าน” นั้นหมายถึงว่า ซุปถ้วยนั้นๆ เป็นซุปที่เจ้าของบ้านบรรจงทำอย่างสุดฝีมือแล้ว หากเราเติมซอสปรุงรสใดๆจึงเสมือนการดูถูกฝีมือของเจ้าบ้าน

นอกจากนี้ยังมีธรรมเนียมต่างๆ อีกมากมายซึ่งในปัจจุบันได้ลดความเข้มข้นลงบ้างแล้ว แต่ทั้งหมดนั้นล้วนเป็นสิ่งน่าจดจำ เพราะเป็นวัฒนธรรม อันดีงาม และเรายังสามารถกล่าวได้เต็มปากด้วยว่า ประเทศจีนเป็นประเทศมหาอำนาจทางอาหาร อย่างแท้จริง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Chinese food culture.ไคว่จึ หรือ ตะเกียบนับเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่าอย่างหนึ่งของจีน ทั้งยังเป็นอุปกรณ์ในการรับประทานอาหารที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นในระดับโลก ตะเกียบได้รับการขนานนามจากชาวตะวันตกว่าเป็น “อารยธรรมของโลกตะวันออก” คนจีนเริ่มใช้ตะเกียบตั้งแต่สมัยราชวงศ์ซางหรือนานกว่า 3,000 ปีมาแล้ว ในยุคก่อนราชวงศ์ฉิน ตะเกียบมีชื่อเรียกว่า “挟” (jiā, จยา) ต่อมาในสมัยราชวงศ์ฉินและราชวงศ์ฮั่นเรียกตะเกียบว่า “箸” (zhù, จู้) แต่เนื่องจากคนจีนสมัยโบราณเชื่อถือเรื่องโชคลาง จึงถือว่าคำว่า “จู้” ซึ่งไปพ้องเสียงกับคำว่า “住” (zhù, จู้) ที่หมายถึง หยุด มีความหมายไม่เป็นมงคล ดังนั้นจึงเปลี่ยนมาเรียกว่า “筷” (kuài, ไคว่) ซึ่งพ้องเสียงกับคำว่า “เร็ว” แทน และนี่ก็คือที่มาของชื่อเรียกของตะเกียบ ชนชาติจีนเป็นหนึ่งใน 3 ชนชาติที่เป็นเจ้าแห่งวัฒนธรรมการ กิน อีก 2 ชนชาตินั้น ได้แก่ กรีก และโรมัน อาหารนานาชนิด ที่เกิดขึ้นในโลกนี้ ได้รับอิทธิพล การกินจากประเทศจีนเป็นส่วนใหญ่ เช่น เส้นสปาเก็ตตี้ที่เรากินกันอยู่นี้ก็มีกำเนิดมาจากเส้นก๋วยเตี๋ยวของ จีนนั่นเอง เมื่อเริ่มมี การติดต่อซื้อขายกันฝรั่งได้ชิมรสของ ก๋วยเตี๋ยวเกิด ติดใจจึงนำสูตรการทำไปเผยแพร่ในประเทศของตน และปรับปรุงดัดแปลงให้เข้ากับวัฒนธรรม ของตนจนเกิดเป็นอาหารเส้นต่างๆมากมาย และแพร่หลายไปทั่วโลกจนเกิดความเข้าใจผิดว่าเส้นสปา เก็ตตี้ และเส้นมัก กะโรนี ทั้งหลายมีต้นตำรับ เป็นชนชาติยุโรปชนชาติจีนนี้เป็นชนชาติแรกที่รู้จักการใช้ไฟทำให้อาหารสุก รู้จักการเลี้ยงสัตว์ การปลูกผักเพื่อนำมาเป็นอาหาร และการนำโลหะมาประดิษฐ์ ขึ้นเป็นภาชนะหุงต้ม นี่เป็นส่วนแรกที่บอกได้ว่าคนจีนให้ความสำคัญต่อการกินเป็นอย่างมาก ชาว จีนมีเคล็ดลับการปรุงอาหารมากมาย รวมทั้งอาหาร ต่างๆ ส่วนใหญ่ยังเป็นยาชั้นยอดอีกด้วย สิ่งที่มีความน่าสนใจอีกอย่างหนึ่ง ได้แก่ มารยาทการกินอาหารของคนจีน จากตำราว่าด้วยธรรมเนียม การกินของคนจีนสมัยโบราณที่ถือกันมานานเป็นพันปี กำหนดไว้ว่า ถ้าแขกที่ได้รับเชิญไปกินอาหารมีตำแหน่งราชการต่ำกว่าผู้เป็นเจ้าภาพ ก่อนจะนั่งโต๊ะ ผู้น้อยที่เป็นแขก ควรแสดงความไม่บังควรที่จะร่วมโต๊ะกับผู้ใหญ่ จะนั่งลงได้ก็ต่อเมื่อผู้ใหญ่คะยั้นคะยอ อย่าเพิ่งลงมือกินจนกว่าจะเห็นผู้ใหญ่ใช้ตะเกียบคีบอาหารชิ้นแรกเข้าปาก และเมื่อจะคีบอาหารกินบ้าง ก็ต้องเลือก ชิ้นที่เล็ก และอร่อยน้อยที่สุด อย่าเลือกชิ้นอร่อยที่สุดเช่นส่วนที่เป็นหัวพุงหัวมันกินก่อนเป็นอันขาด เพราะเป็นการ เสียมารยาทอย่างร้ายแรง จะได้กินของดีที่สุดในจานหนึ่ง ๆ ก็จะต้องคอยจนกว่าจะเป็นผู้ใหญ่จริง ๆ ที่คนต่ำยศกว่า เราเชิญไปกิน ถ้าเจ้าภาพไม่เชิญดื่มสุราล้างปากระหว่างจาน อย่ายกแก้วหรือจอกขึ้นดื่มเองโดยลำพังเป็นอันขาด ต้องคอยให้ ผู้มีอาวุโสเขาชวนดื่มจึงค่อยดื่ม เวลากินอาหารไม่ควรส่งเสียงดัง ไม่ควรใช้ฟันหน้าแทะกระดูกกันในโต๊ะอาหาร และชิ้นปลาที่กัดแล้ว ไม่มีการวาง กลับลงในจานจะต้องกินทั้งชิ้น โดยเลือกเอาแต่ชิ้นที่กินได้พอดีคำ เนื้อสัตว์ที่ต้ม ตุ๋น หรือทอดจนนุ่ม หรือกรอบแล้ว สามารถใช้ฟันกัดแบ่งกินทีละคำได้ แต่ถ้าเป็นเนื้อที่แห้งเหนียว ต้องใช้มีดตัดให้ขาดเป็นชิ้นเสียก่อน แล้วจึงใช้ตะเกียบคีบเข้าปาก การฉีกเนื้อเหนียวด้วยมือ แล้วป้อนเข้าปากนั้น ถือเป็นกิริยาที่ไม่สุภาพ กฎอีกข้อที่เห็นจะลืมกล่าวไปไม่ได้นั่นคือ เมื่อกินซุปจะต้องไม่เติมอะไรเลย เว้นแต่น้ำซุปหูหลามที่เขาเอาน้ำส้มจิ๊กโฉ่มาให้เติม ถ้าใครเติม ซอสใดๆ ลงไปในซุป เจ้าของบ้านจะขอโทษ และบอกว่า “หมดสติปัญญาที่จะปรุงซุปที่รสชาติดีกว่านี้ไว้รับรองท่าน” นั้นหมายถึงว่า ซุปถ้วยนั้นๆ เป็นซุปที่เจ้าของบ้านบรรจงทำอย่างสุดฝีมือแล้ว หากเราเติมซอสปรุงรสใดๆจึงเสมือนการดูถูกฝีมือของเจ้าบ้านThere are also many different fees, which currently has a concentration of all it's a memorable thing because it is nice and we can also say that the mouth is full of China as a superpower nation with real food.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
วัฒนธรรมการกินชาวจีน
ไคว่จึ หรือ ตะเกียบนับเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่าอย่างหนึ่งของจีน ทั้งยังเป็นอุปกรณ์ในการรับประทานอาหารที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นในระดับโลก ตะเกียบได้รับการขนานนามจากชาวตะวันตกว่าเป็น “อารยธรรมของโลกตะวันออก” คนจีนเริ่มใช้ตะเกียบตั้งแต่สมัยราชวงศ์ซางหรือนานกว่า 3,000 ปีมาแล้ว ในยุคก่อนราชวงศ์ฉิน ตะเกียบมีชื่อเรียกว่า “挟” (jiā, จยา) ต่อมาในสมัยราชวงศ์ฉินและราชวงศ์ฮั่นเรียกตะเกียบว่า “箸” (zhù, จู้) แต่เนื่องจากคนจีนสมัยโบราณเชื่อถือเรื่องโชคลาง จึงถือว่าคำว่า “จู้” ซึ่งไปพ้องเสียงกับคำว่า “住” (zhù, จู้) ที่หมายถึง หยุด มีความหมายไม่เป็นมงคล ดังนั้นจึงเปลี่ยนมาเรียกว่า “筷” (kuài, ไคว่) ซึ่งพ้องเสียงกับคำว่า “เร็ว” แทน และนี่ก็คือที่มาของชื่อเรียกของตะเกียบ ชนชาติจีนเป็นหนึ่งใน 3 ชนชาติที่เป็นเจ้าแห่งวัฒนธรรมการ กิน อีก 2 ชนชาตินั้น ได้แก่ กรีก และโรมัน อาหารนานาชนิด ที่เกิดขึ้นในโลกนี้ ได้รับอิทธิพล การกินจากประเทศจีนเป็นส่วนใหญ่ เช่น เส้นสปาเก็ตตี้ที่เรากินกันอยู่นี้ก็มีกำเนิดมาจากเส้นก๋วยเตี๋ยวของ จีนนั่นเอง เมื่อเริ่มมี การติดต่อซื้อขายกันฝรั่งได้ชิมรสของ ก๋วยเตี๋ยวเกิด ติดใจจึงนำสูตรการทำไปเผยแพร่ในประเทศของตน และปรับปรุงดัดแปลงให้เข้ากับวัฒนธรรม ของตนจนเกิดเป็นอาหารเส้นต่างๆมากมาย และแพร่หลายไปทั่วโลกจนเกิดความเข้าใจผิดว่าเส้นสปา เก็ตตี้ และเส้นมัก กะโรนี ทั้งหลายมีต้นตำรับ เป็นชนชาติยุโรปชนชาติจีนนี้เป็นชนชาติแรกที่รู้จักการใช้ไฟทำให้อาหารสุก รู้จักการเลี้ยงสัตว์ การปลูกผักเพื่อนำมาเป็นอาหาร และการนำโลหะมาประดิษฐ์ ขึ้นเป็นภาชนะหุงต้ม นี่เป็นส่วนแรกที่บอกได้ว่าคนจีนให้ความสำคัญต่อการกินเป็นอย่างมาก ชาว จีนมีเคล็ดลับการปรุงอาหารมากมาย รวมทั้งอาหาร ต่างๆ ส่วนใหญ่ยังเป็นยาชั้นยอดอีกด้วย สิ่งที่มีความน่าสนใจอีกอย่างหนึ่ง ได้แก่ มารยาทการกินอาหารของคนจีน จากตำราว่าด้วยธรรมเนียม การกินของคนจีนสมัยโบราณที่ถือกันมานานเป็นพันปี กำหนดไว้ว่า ถ้าแขกที่ได้รับเชิญไปกินอาหารมีตำแหน่งราชการต่ำกว่าผู้เป็นเจ้าภาพ ก่อนจะนั่งโต๊ะ ผู้น้อยที่เป็นแขก ควรแสดงความไม่บังควรที่จะร่วมโต๊ะกับผู้ใหญ่ จะนั่งลงได้ก็ต่อเมื่อผู้ใหญ่คะยั้นคะยอ อย่าเพิ่งลงมือกินจนกว่าจะเห็นผู้ใหญ่ใช้ตะเกียบคีบอาหารชิ้นแรกเข้าปาก และเมื่อจะคีบอาหารกินบ้าง ก็ต้องเลือก ชิ้นที่เล็ก และอร่อยน้อยที่สุด อย่าเลือกชิ้นอร่อยที่สุดเช่นส่วนที่เป็นหัวพุงหัวมันกินก่อนเป็นอันขาด เพราะเป็นการ เสียมารยาทอย่างร้ายแรง จะได้กินของดีที่สุดในจานหนึ่ง ๆ ก็จะต้องคอยจนกว่าจะเป็นผู้ใหญ่จริง ๆ ที่คนต่ำยศกว่า เราเชิญไปกิน ถ้าเจ้าภาพไม่เชิญดื่มสุราล้างปากระหว่างจาน อย่ายกแก้วหรือจอกขึ้นดื่มเองโดยลำพังเป็นอันขาด ต้องคอยให้ ผู้มีอาวุโสเขาชวนดื่มจึงค่อยดื่ม เวลากินอาหารไม่ควรส่งเสียงดัง ไม่ควรใช้ฟันหน้าแทะกระดูกกันในโต๊ะอาหาร และชิ้นปลาที่กัดแล้ว ไม่มีการวาง กลับลงในจานจะต้องกินทั้งชิ้น โดยเลือกเอาแต่ชิ้นที่กินได้พอดีคำ เนื้อสัตว์ที่ต้ม ตุ๋น หรือทอดจนนุ่ม หรือกรอบแล้ว สามารถใช้ฟันกัดแบ่งกินทีละคำได้ แต่ถ้าเป็นเนื้อที่แห้งเหนียว ต้องใช้มีดตัดให้ขาดเป็นชิ้นเสียก่อน แล้วจึงใช้ตะเกียบคีบเข้าปาก การฉีกเนื้อเหนียวด้วยมือ แล้วป้อนเข้าปากนั้น ถือเป็นกิริยาที่ไม่สุภาพ กฎอีกข้อที่เห็นจะลืมกล่าวไปไม่ได้นั่นคือ เมื่อกินซุปจะต้องไม่เติมอะไรเลย เว้นแต่น้ำซุปหูหลามที่เขาเอาน้ำส้มจิ๊กโฉ่มาให้เติม ถ้าใครเติม ซอสใดๆ ลงไปในซุป เจ้าของบ้านจะขอโทษ และบอกว่า “หมดสติปัญญาที่จะปรุงซุปที่รสชาติดีกว่านี้ไว้รับรองท่าน” นั้นหมายถึงว่า ซุปถ้วยนั้นๆ เป็นซุปที่เจ้าของบ้านบรรจงทำอย่างสุดฝีมือแล้ว หากเราเติมซอสปรุงรสใดๆจึงเสมือนการดูถูกฝีมือของเจ้าบ้าน

นอกจากนี้ยังมีธรรมเนียมต่างๆ อีกมากมายซึ่งในปัจจุบันได้ลดความเข้มข้นลงบ้างแล้ว แต่ทั้งหมดนั้นล้วนเป็นสิ่งน่าจดจำ เพราะเป็นวัฒนธรรม อันดีงาม และเรายังสามารถกล่าวได้เต็มปากด้วยว่า ประเทศจีนเป็นประเทศมหาอำนาจทางอาหาร อย่างแท้จริง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Chinese eating culture
.ไคว่ Ji or chopsticks is precious cultural heritage of China. Also a device in eating a and in the world. Chopsticks have been dubbed by the Westerners as.Chinese people began to use chopsticks or longer, since the Song Dynasty 3000 years ago. In the era before the Qin Dynasty chopsticks called "挟" (Ji ā จยา), later in the reign of ราชวงศ์ฉินและ Han Dynasty called chopsticks. "箸" (Zh, industryZhu), but because the Chinese ancient times, believe in superstition is considered. "" Zhu ", which was to coincide with the word" 住 "(Zh, because Zhu) means. Stop means are not auspicious. Therefore change called "筷" (), Ku Iไคว่) which homophones with "soon". Instead, and this is the origin of the name of the calling of the chopsticks, nation, China is one of the 3 people are the masters of the culture. Eat more 2 peoples, including the Greek and Roman food variety.The influence of eating from most parts of China, such as spaghetti we eat here ี้ก็ have origins of the noodles of China itself. When they started to contact trading gum can taste the noodles.Modified to adapt and improve culture. Their until a line feed lot. And widespread to the world until a misunderstanding that "pa spaghetti and macaroni line, and many are originalKnow the animals to grow vegetables for food and the application of the metal fabricated a cooking container This is the first part, said Chinese importance to eat very much. The Chinese cooking tips.The drug is still mainly a top. What an interesting one, including feeding manners of Chinese from a Book of fees. Eating of Chinese ancient holding together for a thousand years are given.Before sitting at the table, the small as guests. Should show no fit to join adult. Would you please sit down when adults insisted. Don't start eating until they see adults use chopsticks clamp the first food into the mouth.To select small pieces and is minimal. Don't pick the most delicious pieces such as part of a หัวพุงหัวมัน eat first. Because it was courtesy, serious will eat the best on the plate. .Low rank, people than we invited to eat. If the host doesn't invite drinking mouth between the plates. Don't raise a glass or cup drinking alone. Wait for seniority he drink the value to drink. Time to eat, should not make noise.Pieces of fish and biting. No put back into the dish will have to eat the whole piece. By choice, but edible pieces fit words meat boiled, steamed or fried until soft, or frame, can use the teeth share it word by word.To use a knife to cut into pieces first. Then use the chopsticks clamp mouth tearing meat is tough hands, then entered the mouth. A girI drugs impolite. Another rule that I forgot to say that is notUnless the soup ear Python he vinegar jiksho to fill. If anyone to fill any sauce into the soup, home owners to apologize and say "unconscious wisdom to cook the soup taste better guarantee you." That means that the soup cuisine.If we add the seasoning sauce is insulted by any virtual host
.
.There are also various fees Many of the current lower concentrations and economy. But all things that are memorable, because culture is beautiful, and we also can say say thatTruly
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: