Local wisdom project (bake Tan) Abstractsขนมตาล เป็นขนมไทยแท้ดั้งเดิม และเริ่มหาซื้อรับประทานยากขึ้น ตามจำนวนของต้นตาลที่นับวันจะลดน้อยลงไป ความเด่นของขนมตาล อยู่ที่ความหอมหวลของน้ำคั้นจากผลตาลสุกงอม ความหวานมันที่ได้จาก มะพร้าวขูดเป็นเส้นโรยอยู่หน้าขนม ว่ากันว่าที่ใดมีต้นตาลที่นั่นต้องมี ขนมตาล เพราะต้นตาลเป็นไม้ยืนต้นที่ให้ประโยชน์กับคนไทยมากมาย นับแต่ลูกตาลเนื้อนิ่มใสหวานชื่นใจ ที่จะรับประทานสด ๆ หรือนำไปเชื่อม รับประทานกับน้ำแข็งก็อร่อยไม่แพ้กัน จาวตาล หรือส่วนที่อยู่ด้านใน ของเมล็ดตาลที่แก่จัด เฉาะเอามาเชื่อมกับน้ำตาลก็รับประทานได้ แถมน้ำ หวานที่ได้จากงวงตาลก็นำมาทำน้ำตาลโตนด ที่มีความหอมและหวาน แหลมอย่างที่น้ำตาลทรายก็สู้ไม่ได้ คนไทยนิยมเอามาปรุงอาหารไทยMaking great desserts, Thailand must consist of a combination of factors is to love love is patience with the intention for exciting shape. Thailand some sweets practice several times to get a good experience and expertise in making frequent dessert manufacturer Thailand will succeed in. Acknowledgements Of this book project is neither if not get support and advice from. Adapted from Professor pornthip มหันต, and thank you to the prom by gold and parents who are waiting until this book, project a success. If the content in this book, there is a project, what errors. Sorry,.Chapter 1IntroductionConcept and significanceสืบเนื่องมาจากมีความชื่นชอบในขนมตาล ซึ่งในปัจจุบันขนมตาลเป็นขนมที่หากินได้ยากและกระบวนการทำส่วนผสมมีความยุ่งยาก ส่วนต้นทุนในการลงทุนสูงแต่ได้กำไรน้อย เพราะส่วนมากในกลุ่มลูกค้าโดยทั่วไปจะเป็นผู้สูงอายุ แต่เด็กวัยรุ่นส่วนใหญ่ไม่นิยมบริโภคขนมตาลเพราะไม่ทราบว่ามันคือขนมอะไร รสชาติเป็นยังไง และรูปลักษณ์การบรรจุภัณฑ์ไม่น่าดึงดูดใจเหมือนขนมขบเคี้ยวทั่วไป จึงทำให้ดิฉันมีความสนใจในการทำโครงงานเรื่องการทำขนมตาลเพื่ออนุรักษ์การทำขนมไทยและเพื่อเป็นประโยชน์ในการประการอาชีพ วัตถุประสงค์1.จัดทำขึ้นเพื่ออนุรักษ์และสืบทอดการทำขนมตาล2.จัดทำขึ้นเพื่อได้รู้วิธีการทำขนมตาล3.สามารถนำไปเผื่อแพร่ให้กับผู้ที่สนใจเกี่ยวกับวิธีการทำหลักการและทฤษฎี เนื่องจากเด็กไทยสมัยนี้มีความนิยมจากชาติตะวันตกมากจนเกินไป จนลืมไปความเป็นไทยว่าไทยเราก็มีของดีเยอะมากมาย เช่น เสื้อผ้าการแต่งกาย สถานที่ท่องเที่ยว และอาหารไทย (ขนมตาล) ข้าพเจ้าได้มองเห็นความสำคัญของอาหารไทย(ขนมตาล) จึงได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อที่จะสืบทอดของไทยขอบเขตของโครงงาน 1.ศึกษาค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต 2.ศึกษาค้นคว้าจาก คุณปราณี พรหมทอง สถานที่ต.ปากน้ำ อ.เมือง จ.กระบี่ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ1.ได้ทำเป็นอาชีพเสริมเพื่อหารายได้เพิ่มขึ้น2.ได้มีประสบการณ์ในการลงพื้นที่ได้มากขึ้นกว่าเดิม3.ได้รักษาอรุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นนี้ไว้เพื่อให้เยาวชนรุ่นหลัง4.ได้ใช้เวลาว่างให้เกินประโยชน์5.เพื่อนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้แก่ผู้ที่สนใจ6.เพื่อฝึกการทำงานเป็นกลุ่มบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องจากบทสัมภาษณ์คุณปราณี พรหมทอง ขนมตาลเป็นขนมที่มีรสชาติหวาน มัน ขั้นตอนในการทำนั้นมีความยากพอสมควร ปัจจุบันขนมตาลจะหานำมารับประทานนั้นก็ยากขึ้น เพราะวัตถุดิบในการทำเริ่มมีปริมาณลดลง และคนที่ทำขายส่วนใหญ่จะเป็นผู้สูงอายุ เด็กวัยรุ่นสมัยใหม่ก็ไม่ค่อยนิยมซื้อไปบริโภค อาจเพราะเหตุว่า เป็นขนมที่ไม่ทันสมัย จึงไม่นิยมบริโภควัตถุดิบในการทำ
1. ลูกตาลสุก 2. ข้าวสารเก่า 3. แป้ง 4. น้ำตาลทราย
5. หัวกะทิ 6. มะพร้าวทึกขูดฝอย 7. เกลือป่น
บทที่ 3
วิธีการดำเนินงาน
วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า
การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้ดำเนินการศึกษาค้นคว้าตามลำดับดังต่อไปนี้
1. ขั้นศึกษาข้อมูล
1.1 ขั้นสำรวจและศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดยการสำรวจและศึกษาเอกสารที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการทำขนมตาล
1.2 ศึกษาวัตถุดิบและส่วนประกอบการทำขนมตาล
2. ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล
2.1 ได้มีการเก็บรวมรวมข้อมูลจากการสำรวจและศึกษาจากเอกสารที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการทำขนมตาล
2.2 ได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากการได้สังเกต และสัมภาษณ์
3. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
นำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาศึกษา และวิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์และเรียบเรียงนำเสนอในเชิงความเรียง
อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต
1. ลูกตาลสุก
2. ข้าวสารเก่า
3. แป้ง
4. น้ำตาลทราย
5. หัวกะทิ
6. มะพร้าวทึกขูดฝอย
7. เกลือป่น
บทที่ 4
ผลการศึกษา
ขั้นตอนการผลิต
1. อันดับแรกต้องลอกเปลือกลูกตาลออกให้หมด แล้วขูดเอาเนื้อสีเหลืองออก ตัวลูกตาลแช่น้ำไว้จนเนื้อลูกตาลละลายออกหมด ใช้ผ้าห่อเนื้อลูกตาล และน้ำที่ละลายผูกมัดปากรวมไว้ให้แน่นแขวนหรือทับไว้ให้แห้ง
ลูกตาลสุก ล้าง ปอก ขูดเนื้อตาลออก
เนื้อตาลที่ได้ ส่วนเมล็ดตาลนำไปขยำกับน้ำให้เนื้อออกให้
กรองด้วยกระชอน แล้วกรองด้วยถุงผ้าขาวหนา แขวนไว้ให้น้ำตกจนหมด ทำก่อนใช้ 1 คืน
2. โม่ข้าวสารที่แช่น้ำไว้ให้ละเอียด แล้วทับให้แห้ง
3. จากนั้นผสมข้าวสารที่โม่และทับจนแห้งแล้ว รวมกับแป้งท้าวยายม่อม และลูกตาลที่ทับจนแห้งแล้วนวดส่วนผสมทั้งหมด เข้าด้วยกันจนแป้งที่ผสมเนียนและนุ่มมือ(ประมาณ 30-60 นาที)ใส่น้ำตาลสลับกับหัวกะทิ นวดจนหัวกะทิและน้ำตาล ละลายหมด พักไว้ประมาณ 5-10 ชั่วโมง
นำเนื้อตาลที่ได้มานวดกับแป้งแล้วเติมกะทิ(ผสมกับน้ำตาลทรายตั้งไฟให้เดือดพักให้เย็น)
นวดเนื้อลูกตาลกับแป้งข้าวเจ้าให้เข้ากัน แล้วค่อยๆเติมกะทิที่เคี่ยวไว้จนหมด
เมื่อเติมกะทิจนหมดได้ลักษณะดังภาพ ปิดฝาพักไว้ 4-5 ชั่วโมงจนขึ้นฟู (เป็นฟองปุดๆๆ)
4. ขั้นตอนรองสุดท้ายให้ตักแป้งที่ผสมแล้วใส่กระทงหรือถ้วยตะไล โรยมะพร้าว แล้วนึ่งให้สุกยกลงถ้าใส่ถ้วยตะไลรอให้เย็นก่อนแล้วจึงนำออกจากถ้วยจัดใส่ภาชนะ
บทที่ 5
สรุปผลการศึกษา
การวิจัยเรื่องการทำขนมตาล ทำให้ได้รู้ถึงรู้หลักวิธีการทำ และวัฒนธรรมการการอนุรักษ์ของชุมชนในท้องถิ่นภาคใต้อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่สมควรรับการส่งเสริม และอนุรักษ์ตลอดไป
จากการศึกษาพบว่า ขนมตาล เป็นขนมไทยที่นิยมก
การแปล กรุณารอสักครู่..