ในช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม จะเป็นเทศกาลดอกไม้ไฟ (ฮานาบิ)(เดือนสิงหาคมก การแปล - ในช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม จะเป็นเทศกาลดอกไม้ไฟ (ฮานาบิ)(เดือนสิงหาคมก อังกฤษ วิธีการพูด

ในช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม จะเป็นเท

ในช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม จะเป็นเทศกาลดอกไม้ไฟ (ฮานาบิ)
(เดือนสิงหาคมกลางฤดูร้อนของญี่ปุ่น มีอะไรที่คล้ายกับเดือนเมษายนที่ร้อนที่สุดของเมืองไทยหลายอย่าง เช่นเป็นช่วงปิดเทอมเหมือนกัน มีเทศกาลไหว้บรรพบุรุษเหมือนกัน เป็นช่วงที่ร้อนสุดๆ เหมือนกัน แต่มีวิธีคลายร้อนที่ต่างกัน บ้านเราคลายร้อนด้วยสงกรานต์ ญี่ปุ่นคลายร้อนด้วยการไปดูดอกไม้ไฟ (ภาษาญี่ปุ่นเรียกว่า ฮานาบิ) การจุดดอกไม้ไฟมีขึ้นครั้งแรกเมื่อ 380 ปีก่อน นั่นหมายความว่า ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ของญี่ปุ่นในช่วงนั้น โดยเฉพาะวิชาเคมีก้าวไปไกลพอสมควรทีเดียว จากนั้นมีการพัฒนาต่อเนื่องมาเรื่อยๆ แต่ต้องหยุดไปในช่วงสงครามโลก หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 การกลับมาใหม่ของดอกไม้ไฟ กลายเป็นสัญลักษณ์ของสันติภาพในญี่ปุ่น เพราะการชื่นชมดอกไม้ไฟจะเกิดขึ้นได้ก็ในยามบ้านเมืองสงบ บริษัทผู้ผลิตดอกไม้ไฟรายใหญ่ของญี่ปุ่น ส่วนใหญ่มีประวัติเริ่มมาจากหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 กันทั้งนั้น การเริ่มต้นวิจัยและพัฒนาในช่วงเวลาที่ประเทศไม่เหลืออะไรเลย หลังสงครามเป็นความยากลำบากที่คนญี่ปุ่นรุ่นคุณปู่คุณย่าไม่เคยลืม มาถึงวันนี้ญี่ปุ่นกลายเป็นผู้นำของโลกในหลายๆ ด้านรวมทั้งเทคโนโลยีดอกไม้ไฟญี่ปุ่น
การทำดอกไม้ไฟในปัจจุบันอาศัยความรู้ทางเคมีกับฟิสิกส์เป็นหลัก ผสมเพิ่มผสานกับศิลปะ เพื่อให้ได้ดอกไม้ไฟตามที่ต้องการ ขั้นตอนการผลิตที่มีความละเอียดอ่อน เริ่มจากการผสมผงดินปืนกับสารเคมีที่ให้สีต่างๆ (สีแดง : Strontium carbonate, สีเหลือง : Calcium carbonate, สีฟ้า : Copper oxide, สีเขียว : Barium nitrate, สีเงิน : Aluminium) ปั้นด้วยมือทีละชั้นจนได้ขนาดตามต้องการ
การจุดดอกไม้ไฟมีตามเมืองต่างๆ ทั่วประเทศ เกือบจะทั้งหมดเปิดให้ดูฟรี ซึ่งแน่นอนของฟรีย่อมมีคนไปดูกันเยอะเป็นธรรมดา ดังนั้นเพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดจากคนจำนวนมากที่ไปแออัดในสถานที่เดียวกัน จึงมีการจุดดอกไม้ไฟพร้อมๆ กันในหลายสถานที่คือ ต้องเลือกไปดู (ได้อย่างก็ต้องเสียอย่าง) นอกจากจะช่วยป้องกันเหตุที่ไม่คาด คิดแล้วยังช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจทั้งระดับจุลภาค และมหภาคได้เป็นอย่างดี รายได้ที่เกิดจากการเดินทางไปดูด้วยรถไฟ JR (ของรัฐบาล) พุ่งขึ้นเป็นเท่าตัวคนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียงกับที่จุดดอกไม้ไฟมีรายได้จากการออกร้านขายอาหารเครื่องดื่ม และเก็บเงินค่าจอดรถ เรียกได้ว่าเงินสะพัดกันทั่วเกาะญี่ปุ่น
สำหรับวัยรุ่นญี่ปุ่น การไปดูดอกไม้ไฟถือเป็นโอกาสดีในการชวนกันไปออกเดท ซึ่งเป็นมุขที่ไม่เคยล้าสมัย ใช้กันมาตั้งแต่สมัยคุณยายยังสาว สาวญี่ปุ่นที่ถูกชวนไปดูดอกไม้ไฟ มักจะใส่ชุดยูกะตะตัวเก่ง แต่งหน้าทำผม บางคนก็เตรียมเบนโตะ (อาหารกล่อง) ติดไปด้วย ไม่ได้จำกัดเฉพาะการไปเป็นคู่เท่านั้น ไปเป็นกลุ่มเพื่อนที่โรงเรียนหรือที่ทำงานก็ไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร ดอกไม้ไฟมักจะจุดกันกลางแม่น้ำหรือริมทะเล ซึ่งจะดูได้จากสองฝั่งแม่น้ำ ชายทะเล หรือนั่งดูจากเรือ ปกติเริ่มจุดกันตั้งแต่ทุ่มครึ่ง ใช้เวลาดูประมาณ 1 ชั่วโมง จุดกันประมาณ 8,000-20,000 ดอก ขึ้นอยู่กับสถานที่ ซึ่งแต่ละที่ ก็จะแข่งกันจุดทั้งคุณภาพและปริมาณ เสน่ห์ของแต่ละที่อยู่ที่รูปแบบการจุด บางที่ทำเหมือนเป็นคอนเสิร์ตดอกไม้ไฟคือ มีดนตรีประกอบ บางที่โดยเฉพาะชายทะเลมักจะจุดกระจายเป็นหย่อมๆ ตามแนวราบของทะเล จุดซ้ายทีขวาที ทำให้รู้สึกเหมือนเป็นโรงละครดอกไม้ไฟ ลักษณะของดอกไม้ไฟไม่ได้มีแค่แบบทรงกลมธรรมดา (ที่มี 2 แบบหลักคือ เป็นทรงกลม ดอกเบญจมาศ กับดอกโบตั๋น) ทรงครึ่งทรงกลมก็ดูเก๋ไปอีกแบบ แต่ที่น่าประทับใจที่สุดคือ ดอกไม้ไฟที่จุดเป็นรูปต่างๆ ได้ เช่น รูปหัวใจ ดาว หอยทาก ผีเสื้อ มิกกี้เมาส์ รวมไปถึงโดราเอมอน ฯลฯ ที่โยโกฮาม่า จะจุดดอกไม้ไฟวันอาทิตย์ พรุ่งนี้ค่ะ สามารถปูเสื่อนั่งชมได้ที่บริเวณมินาโตะมิราอิ และสวนยามาชิตะ (แต่ที่สวนฯ จะเห็นภาพแจ่มกว่าอ่ะค่ะ) ทุกปีมีคนไปชมเป็นจำนวนมาก ส่วนมากจะไปกันตั้งแต่ช่วงบ่าย บางคนก็ไปปูเสื่อจองที่ล่วงหน้า และบริเวณสถานที่ใกล้เคียงจุดนั่งชม ต่างเต็มไปด้วยผู้คน ร้านค้าร้านอาหารต่างขายดิบขายดี งานนี้หลายคนต่างใส่ยูคะตะไปเที่ยวชมงานเป็นจำนวนมาก ทั้งคนหนุ่มสาว (ไม่ว่าจะสาวน้อยหรือสาวมาก) และเด็กๆ ที่พ่อแม่จับแต่งยูคะตะเหมือนกัน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
During July-August is Festival Fireworks (Hanabi)(เดือนสิงหาคมกลางฤดูร้อนของญี่ปุ่น มีอะไรที่คล้ายกับเดือนเมษายนที่ร้อนที่สุดของเมืองไทยหลายอย่าง เช่นเป็นช่วงปิดเทอมเหมือนกัน มีเทศกาลไหว้บรรพบุรุษเหมือนกัน เป็นช่วงที่ร้อนสุดๆ เหมือนกัน แต่มีวิธีคลายร้อนที่ต่างกัน บ้านเราคลายร้อนด้วยสงกรานต์ ญี่ปุ่นคลายร้อนด้วยการไปดูดอกไม้ไฟ (ภาษาญี่ปุ่นเรียกว่า ฮานาบิ) การจุดดอกไม้ไฟมีขึ้นครั้งแรกเมื่อ 380 ปีก่อน นั่นหมายความว่า ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ของญี่ปุ่นในช่วงนั้น โดยเฉพาะวิชาเคมีก้าวไปไกลพอสมควรทีเดียว จากนั้นมีการพัฒนาต่อเนื่องมาเรื่อยๆ แต่ต้องหยุดไปในช่วงสงครามโลก หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 การกลับมาใหม่ของดอกไม้ไฟ กลายเป็นสัญลักษณ์ของสันติภาพในญี่ปุ่น เพราะการชื่นชมดอกไม้ไฟจะเกิดขึ้นได้ก็ในยามบ้านเมืองสงบ บริษัทผู้ผลิตดอกไม้ไฟรายใหญ่ของญี่ปุ่น ส่วนใหญ่มีประวัติเริ่มมาจากหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 กันทั้งนั้น การเริ่มต้นวิจัยและพัฒนาในช่วงเวลาที่ประเทศไม่เหลืออะไรเลย หลังสงครามเป็นความยากลำบากที่คนญี่ปุ่นรุ่นคุณปู่คุณย่าไม่เคยลืม มาถึงวันนี้ญี่ปุ่นกลายเป็นผู้นำของโลกในหลายๆ ด้านรวมทั้งเทคโนโลยีดอกไม้ไฟญี่ปุ่นTo make Fireworks in the present knowledge in chemistry to physics principles. Decorating with art, to be added to Fireworks. The process of with delicate Starting from mixing powder, gunpowder, chemicals with different colors (Red: Strontium carbonate, Calcium carbonate, yellow: Blue: Copper oxide, Barium nitrate, Green: color: Aluminium), sculpture by hand, one at a time, until desired size. การจุดดอกไม้ไฟมีตามเมืองต่างๆ ทั่วประเทศ เกือบจะทั้งหมดเปิดให้ดูฟรี ซึ่งแน่นอนของฟรีย่อมมีคนไปดูกันเยอะเป็นธรรมดา ดังนั้นเพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดจากคนจำนวนมากที่ไปแออัดในสถานที่เดียวกัน จึงมีการจุดดอกไม้ไฟพร้อมๆ กันในหลายสถานที่คือ ต้องเลือกไปดู (ได้อย่างก็ต้องเสียอย่าง) นอกจากจะช่วยป้องกันเหตุที่ไม่คาด คิดแล้วยังช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจทั้งระดับจุลภาค และมหภาคได้เป็นอย่างดี รายได้ที่เกิดจากการเดินทางไปดูด้วยรถไฟ JR (ของรัฐบาล) พุ่งขึ้นเป็นเท่าตัวคนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียงกับที่จุดดอกไม้ไฟมีรายได้จากการออกร้านขายอาหารเครื่องดื่ม และเก็บเงินค่าจอดรถ เรียกได้ว่าเงินสะพัดกันทั่วเกาะญี่ปุ่นสำหรับวัยรุ่นญี่ปุ่น การไปดูดอกไม้ไฟถือเป็นโอกาสดีในการชวนกันไปออกเดท ซึ่งเป็นมุขที่ไม่เคยล้าสมัย ใช้กันมาตั้งแต่สมัยคุณยายยังสาว สาวญี่ปุ่นที่ถูกชวนไปดูดอกไม้ไฟ มักจะใส่ชุดยูกะตะตัวเก่ง แต่งหน้าทำผม บางคนก็เตรียมเบนโตะ (อาหารกล่อง) ติดไปด้วย ไม่ได้จำกัดเฉพาะการไปเป็นคู่เท่านั้น ไปเป็นกลุ่มเพื่อนที่โรงเรียนหรือที่ทำงานก็ไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร ดอกไม้ไฟมักจะจุดกันกลางแม่น้ำหรือริมทะเล ซึ่งจะดูได้จากสองฝั่งแม่น้ำ ชายทะเล หรือนั่งดูจากเรือ ปกติเริ่มจุดกันตั้งแต่ทุ่มครึ่ง ใช้เวลาดูประมาณ 1 ชั่วโมง จุดกันประมาณ 8,000-20,000 ดอก ขึ้นอยู่กับสถานที่ ซึ่งแต่ละที่ ก็จะแข่งกันจุดทั้งคุณภาพและปริมาณ เสน่ห์ของแต่ละที่อยู่ที่รูปแบบการจุด บางที่ทำเหมือนเป็นคอนเสิร์ตดอกไม้ไฟคือ มีดนตรีประกอบ บางที่โดยเฉพาะชายทะเลมักจะจุดกระจายเป็นหย่อมๆ ตามแนวราบของทะเล จุดซ้ายทีขวาที ทำให้รู้สึกเหมือนเป็นโรงละครดอกไม้ไฟ ลักษณะของดอกไม้ไฟไม่ได้มีแค่แบบทรงกลมธรรมดา (ที่มี 2 แบบหลักคือ เป็นทรงกลม ดอกเบญจมาศ กับดอกโบตั๋น) ทรงครึ่งทรงกลมก็ดูเก๋ไปอีกแบบ แต่ที่น่าประทับใจที่สุดคือ ดอกไม้ไฟที่จุดเป็นรูปต่างๆ ได้ เช่น รูปหัวใจ ดาว หอยทาก ผีเสื้อ มิกกี้เมาส์ รวมไปถึงโดราเอมอน ฯลฯ ที่โยโกฮาม่า จะจุดดอกไม้ไฟวันอาทิตย์ พรุ่งนี้ค่ะ สามารถปูเสื่อนั่งชมได้ที่บริเวณมินาโตะมิราอิ และสวนยามาชิตะ (แต่ที่สวนฯ จะเห็นภาพแจ่มกว่าอ่ะค่ะ) ทุกปีมีคนไปชมเป็นจำนวนมาก ส่วนมากจะไปกันตั้งแต่ช่วงบ่าย บางคนก็ไปปูเสื่อจองที่ล่วงหน้า และบริเวณสถานที่ใกล้เคียงจุดนั่งชม ต่างเต็มไปด้วยผู้คน ร้านค้าร้านอาหารต่างขายดิบขายดี งานนี้หลายคนต่างใส่ยูคะตะไปเที่ยวชมงานเป็นจำนวนมาก ทั้งคนหนุ่มสาว (ไม่ว่าจะสาวน้อยหรือสาวมาก) และเด็กๆ ที่พ่อแม่จับแต่งยูคะตะเหมือนกัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: