การก่อตั้งองค์การสวนพฤกษศาสตร์และสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ การแปล - การก่อตั้งองค์การสวนพฤกษศาสตร์และสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ อังกฤษ วิธีการพูด

การก่อตั้งองค์การสวนพฤกษศาสตร์และสว

การก่อตั้งองค์การสวนพฤกษศาสตร์และสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
องค์การสวนพฤกษศาสตร์ (อสพ.) ได้รับการก่อตั้งตามพระราชกฤษฎีกา เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2535 โดยบุคคลที่ได้ชื่อว่ามีบทบาทสำคัญในการก่อตั้งองค์การสวนพฤกษศาสตร์และสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ คือ ศาสตราจารย์ ดร.สง่า สรรพศรี ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม องค์การสวนพฤกษศาสตร์มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีมาจนถึงเดือนตุลาคม ปี พ.ศ. 2545 จึงได้ย้ายมาสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ เดิมมีชื่อว่า "สวนพฤกษศาสตร์แม่สา" เป็นสวนพฤกษศาสตร์ที่กรมป่าไม้จัดตั้งขึ้นให้เป็นสวนพฤกษศาสตร์ประจำภาคเหนือของประเทศไทย หลังจากที่ได้มีการสถาปนาองค์การสวนพฤกษศาสตร์ขึ้น สวนพฤกษศาสตร์แม่สาก็ได้รับการโอนย้ายมาสังกัด อ.ส.พ. และได้รับการวางแผนและพัฒนาให้เป็นสวนพฤกษศาสตร์ระดับสากลแห่งแรกของประเทศ มีการบริหารจัดการตามมาตรฐานสากล โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรพืช ศึกษาวิจัย และเผยแพร่ความรู้ทางด้านพฤกษศาสตร์
ต่อมาในปี พ.ศ. 2537 องค์การสวนพฤกษศาสตร์ได้รับพระราชทานพระราชานุญาตจาก สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ให้ใช้ชื่อสวนพฤกษศาสตร์แห่งนี้ว่า "สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์"
สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ตั้งอยู่ที่ตำบลแม่แรม อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ดำเนินงานโดยองค์การสวนพฤกษศาสตร์ (อสพ.) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ ในความดูแลของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มีพื้นที่ประมาณ 6,500 ไร่ สภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบและที่สูงสลับกันเป็นชั้นๆ ในระดับ 300-970 เมตร จัดทำเป็นสวนพฤกษศาสตร์ระดับนานาชาติ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ลักษณะการจัดสวนของที่นี่จะแบ่งพันธุ์ไม้ตามวงศ์และความเหมาะสมของสภาพพื้นที่ รวบรวมพันธุ์ไม้ทั้งในและต่างประเทศ เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับพันธุ์ไม้ สามารถขับรถเที่ยวชมรอบๆได้

อาคารสถานที่ภายในสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ได้แก่
อาคารสารนิเทศ (Information Center)
ผู้มาเยี่ยมชมสามารถสอบถามข้อมูลทั่วไปและรับเอกสารแจกได้ที่เคาน์เตอร์ฝ่ายประชาสัมพันธ์ซึ่งอยู่ภายในห้องโถงของอาคาร ผู้สนใจสามารถขอชมวิดิทัศน์ และ มัลติวิชั่น สไลด์ เกี่ยวกับประวัติและการดำเนินงานของสวนพฤกษศาสตร์ฯ ได้โดยแจ้งความจำนงที่เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ บริการอื่นๆ สำหรับนักท่องเที่ยว ได้แก่ น้ำดื่ม โทรศัพท์สาธารณะ สุขา ห้องขายของที่ระลึก และห้องปฐมพยาบาล
อาคารฝ่ายบริหาร (Administration Building)
เป็นที่ทำการของผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ และเป็นที่ตั้งของสำนักอำนวยการ และสำนักพัฒนาธุรกิจ
อาคารสำนักพัฒนาและปลูกบำรุง (Garden Department)
ประกอบด้วยอาคารที่ทำการของสำนักพัฒนา-ปลูกบำรุง และกลุ่มอาคารเรือนกระจก (Conservatory and Glasshouses) อันเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาชมพรรณไม้ที่ปลูกตกแต่งภายในโรงเรือนไว้อย่างสวยงาม รวมทั้งพรรณไม้หายาก และพืชสมุนไพร โรงเรือนกระจกใหญ่สุดมีพื้นที่ประมาณ 1,000 ตารางเมตร สูง 33 เมตร ใช้เป็นโรงเรือนแสดงพรรณไม้เขตร้อนชื้นของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Tropical House) โรงเรือนกระจกอื่นๆ ได้แก่ โรงเรือนแสดงไม้น้ำ (Aquatic House) โรงเรือนไม้เขตแล้ง (Arid House) โรงเรือนกล้วยไม้และเฟิน (Orchid and Fern House) และ โรงเรือนรวบรวมพรรณไม้จำพวกไม้ประดับ พืชสมุนไพร เครื่องเทศ และ พืชผักพื้นบ้าน เป็นต้น
กลุ่มอาคาร “ศูนย์วิจัยและพัฒนา สง่า สรรพศรี” (Sanga Sabhasri Research and Development Center)
ประกอบด้วย 3 อาคาร คือ
1. อาคารหอพรรณไม้ (Herbarium) เป็นสถานที่เก็บตัวอย่างพรรณไม้ที่ผ่านการอัดและอบแห้ง เพื่อใช้ประโยชน์ในการศึกษาเปรียบเทียบอนุกรมวิธานพืช มีห้องสมุดพฤกษศาสตร์ที่เปิดบริการให้นักวิชาการและผู้สนใจได้มาค้นคว้า (เฉพาะเวลาราชการ) มีศูนย์ข้อมูลพืช ที่จัดเก็บข้อมูลที่ได้จากการสำรวจเก็บพรรณไม้ ข้อมูลพรรณไม้ภายในสวนฯ ข้อมูลตัวอย่างพรรณไม้แห้ง ฯลฯ ซึ่งจัดเก็บโดยระบบคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย
2. อาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ (Natural Science Museum) ปัจจุบันเปิดเป็นบางส่วนให้เข้าเยี่ยมชมนิทรรศการชั่วคราว ซึ่งจัดเปลี่ยนหมุนเวียนตลอดทั้งปี
3. อาคารวิจัย (Laboratory) เป็นสถานที่ปฏิบัติงานทดลองวิจัยของนักวิจัยจากสวนพฤกษศาสตร์ฯ และนักวิจัยในโครงการความร่วมมือจากสถาบันอื่น งานวิจัยที่มีอยู่ในปัจจุบัน คืองานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (Tissue Culture) งานอนุรักษ์เมล็ดพันธุ์ (Seed Conservation) งานพฤกษเคมี (Phytochemistry) และงานวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity)
หมายเหตุ: เฉพาะนักวิชาการและผู้มีหนังสืออนุญาตให้เยี่ยมชมเป็นกรณีพิเศษ
อาคารศูนย์ฝึกอบรม (Training Center)
ประกอบด้วยอาคารประชุมสัมมนา ห้องพักที่ทันสมัย พร้อมสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ อาทิ ภัตตาคาร สระว่ายน้ำ ห้องออกกำลังกาย ฯลฯ ปัจจุบัน อ.ส.พ. อนุญาตให้ภาคเอกชนเข้ามาดำเนินการใช้ชื่อว่า “The Botanic Resort” นอกจากนี้แล้ว ยังมีค่ายพักแรมเยาวชน สำหรับการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่นักเรียน –นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อให้ได้เรียนรู้และสัมผัสกับธรรมชาติอย่างแท้จริง

สิ่งที่น่าสนใจของสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ คือ เส้นทางศึกษาธรรมชาติที่มีให้เลือกชมสวนได้หลายเส้นทาง และกลุ่มอาคารเรือนกระจกซึ่งรวบรวมชนิดพรรณพืชที่มีความหลากหลายทั้งพรรณไม้พื้นเมืองประจำถิ่นและพรรณไม้จากต่างประเทศ

เส้นทางศึกษาธรรมชาติ
มี 4 เส้นทาง ได้แก่
1. เส้นทางสวนรุกชาติ (Arboretum Trail)
เส้นทางนี้ผ่านแปลงรวมพันธุ์กล้วย บอน ปาล์ม เฟิน แปลงขิงข่า ปรง และสน ระยะทางประมาณ 600 เมตร
2. เส้นทางพันธุ์ไม้ไทยและพืชสมุนไพร
เส้นทางนี้เป็นแหล่งรวบรวมพรรณไม้ไทยไว้กว่า 1,000 ชนิด อาทิ พืชสมุนไพร พันธุ์ไม้หายาก และพันธุ์ไม้ประจำจังหวัด ระหว่างเส้นทางเดินท่านจะพบพันธุ์ไม้ที่น่าสนใจ และป้ายสื่อความหมายที่อธิบายสรรพคุณของพืชสมุนไพร แต่ละชนิดไว้อย่างน่าสนใจ และมีการเสริมภูมิทัศน์ด้วยกล้วยไม้ไทยนานาชนิด ให้ความสวยงามและร่มรื่น เส้นทางเดินจะใช้เวลาประมาณ 30-45 นาที
3. เส้นทางวลัยชาติ (Climber Trail)
ชาติ หรือ ไม้เลื้อย คือ พรรณไม้ที่ต้องการสิ่งที่อาศัยสิ่งยึดเกาะ (supporter) อื่นๆ ในการเลื้อยพันและ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การก่อตั้งองค์การสวนพฤกษศาสตร์และสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์องค์การสวนพฤกษศาสตร์ (อสพ.) ได้รับการก่อตั้งตามพระราชกฤษฎีกาเมื่อวันที่ 7 เมษายนพ.ศ. 2535 โดยบุคคลที่ได้ชื่อว่ามีบทบาทสำคัญในการก่อตั้งองค์การสวนพฤกษศาสตร์และสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์คือศาสตราจารย์ดร.สง่าสรรพศรีซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมองค์การสวนพฤกษศาสตร์มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีมาจนถึงเดือนตุลาคมปีพ.ศ. 2545 จึงได้ย้ายมาสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์อ.แม่ริมจ.เชียงใหม่เดิมมีชื่อว่า "สวนพฤกษศาสตร์แม่สา" เป็นสวนพฤกษศาสตร์ที่กรมป่าไม้จัดตั้งขึ้นให้เป็นสวนพฤกษศาสตร์ประจำภาคเหนือของประเทศไทยหลังจากที่ได้มีการสถาปนาองค์การสวนพฤกษศาสตร์ขึ้นสวนพฤกษศาสตร์แม่สาก็ได้รับการโอนย้ายมาสังกัดอ.ส.พ. และได้รับการวางแผนและพัฒนาให้เป็นสวนพฤกษศาสตร์ระดับสากลแห่งแรกของประเทศมีการบริหารจัดการตามมาตรฐานสากลโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรพืชศึกษาวิจัยและเผยแพร่ความรู้ทางด้านพฤกษศาสตร์ต่อมาในปีพ.ศ. ๒๕๓๗ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ได้รับพระราชทานพระราชานุญาตจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถให้ใช้ชื่อสวนพฤกษศาสตร์แห่งนี้ว่า "สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์"สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ตั้งอยู่ที่ตำบลแม่แรมอำเภอแม่ริมจังหวัดเชียงใหม่ดำเนินงานโดยองค์การสวนพฤกษศาสตร์ (อสพ.) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในความดูแลของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีพื้นที่ประมาณ 6500 ไร่สภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบและที่สูงสลับกันเป็นชั้น ๆ ในระดับ 300-970 เมตรจัดทำเป็นสวนพฤกษศาสตร์ระดับนานาชาติเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถลักษณะการจัดสวนของที่นี่จะแบ่งพันธุ์ไม้ตามวงศ์และความเหมาะสมของสภาพพื้นที่รวบรวมพันธุ์ไม้ทั้งในและต่างประเทศเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับพันธุ์ไม้สามารถขับรถเที่ยวชมรอบๆได้ อาคารสถานที่ภายในสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ได้แก่อาคารสารนิเทศ (ศูนย์ข้อมูล)ผู้มาเยี่ยมชมสามารถสอบถามข้อมูลทั่วไปและรับเอกสารแจกได้ที่เคาน์เตอร์ฝ่ายประชาสัมพันธ์ซึ่งอยู่ภายในห้องโถงของอาคารผู้สนใจสามารถขอชมวิดิทัศน์และมัลติวิชั่นสไลด์เกี่ยวกับประวัติและการดำเนินงานของสวนพฤกษศาสตร์ฯ ได้โดยแจ้งความจำนงที่เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์บริการอื่น ๆ สำหรับนักท่องเที่ยวได้แก่น้ำดื่มโทรศัพท์สาธารณะสุขาห้องขายของที่ระลึกและห้องปฐมพยาบาลอาคารฝ่ายบริหาร (อาคารบริหาร)เป็นที่ทำการของผู้อำนวยการรองผู้อำนวยการและเป็นที่ตั้งของสำนักอำนวยการและสำนักพัฒนาธุรกิจอาคารสำนักพัฒนาและปลูกบำรุง (ฝ่ายสวน)ประกอบด้วยอาคารที่ทำการของสำนักพัฒนา-ปลูกบำรุงและกลุ่มอาคารเรือนกระจก (Conservatory และแมนเนอร์) อันเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาชมพรรณไม้ที่ปลูกตกแต่งภายในโรงเรือนไว้อย่างสวยงามรวมทั้งพรรณไม้หายากและพืชสมุนไพรโรงเรือนกระจกใหญ่สุดมีพื้นที่ประมาณ 1000 ตารางเมตรสูง 33 เมตรใช้เป็นโรงเรือนแสดงพรรณไม้เขตร้อนชื้นของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ทรอเฮาส์) โรงเรือนกระจกอื่น ๆ ได้แก่โรงเรือนแสดงไม้น้ำ (บ้านน้ำ) โรงเรือนไม้เขตแล้ง (บ้านแล้ง) โรงเรือนกล้วยไม้และเฟิน (กล้วยไม้และเฟิร์นเฮ้าส์) และโรงเรือนรวบรวมพรรณไม้จำพวกไม้ประดับพืชสมุนไพรเครื่องเทศและพืชผักพื้นบ้านเป็นต้นกลุ่มอาคาร "ศูนย์วิจัยและพัฒนาสง่าสรรพศรี" (Sanga Sabhasri วิจัยและพัฒนา)ประกอบด้วย 3 อาคารคือ1. อาคารหอพรรณไม้ (หอพรรณไม้) เป็นสถานที่เก็บตัวอย่างพรรณไม้ที่ผ่านการอัดและอบแห้งเพื่อใช้ประโยชน์ในการศึกษาเปรียบเทียบอนุกรมวิธานพืชมีห้องสมุดพฤกษศาสตร์ที่เปิดบริการให้นักวิชาการและผู้สนใจได้มาค้นคว้า (เฉพาะเวลาราชการ) มีศูนย์ข้อมูลพืชที่จัดเก็บข้อมูลที่ได้จากการสำรวจเก็บพรรณไม้ข้อมูลพรรณไม้ภายในสวนฯ ข้อมูลตัวอย่างพรรณไม้แห้งฯลฯ ซึ่งจัดเก็บโดยระบบคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย2. ซึ่งจัดเปลี่ยนหมุนเวียนตลอดทั้งปีปัจจุบันเปิดเป็นบางส่วนให้เข้าเยี่ยมชมนิทรรศการชั่วคราวอาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ (พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ)3. อาคารวิจัย (ปฏิบัติการ) เป็นสถานที่ปฏิบัติงานทดลองวิจัยของนักวิจัยจากสวนพฤกษศาสตร์ฯ และนักวิจัยในโครงการความร่วมมือจากสถาบันอื่นงานวิจัยที่มีอยู่ในปัจจุบันคืองานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (เนื้อเยื่อ) งานอนุรักษ์เมล็ดพันธุ์ (อนุรักษ์เมล็ด) งานพฤกษเคมี (พฤกษเคมี) และงานวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ (ความหลากหลายทางชีวภาพ)หมายเหตุ: เฉพาะนักวิชาการและผู้มีหนังสืออนุญาตให้เยี่ยมชมเป็นกรณีพิเศษอาคารศูนย์ฝึกอบรม (ศูนย์ฝึกอบรม)ประกอบด้วยอาคารประชุมสัมมนาห้องพักที่ทันสมัยพร้อมสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ อาทิภัตตาคารสระว่ายน้ำห้องออกกำลังกายฯลฯ ปัจจุบันอ.ส.พ. อนุญาตให้ภาคเอกชนเข้ามาดำเนินการใช้ชื่อว่า "รีสอร์ทโบตานิค" เพื่อให้ได้เรียนรู้และสัมผัสกับธรรมชาติอย่างแท้จริงนอกจากนี้แล้วยังมีค่ายพักแรมเยาวชนสำหรับการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่นักเรียน – นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ สิ่งที่น่าสนใจของสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์คือเส้นทางศึกษาธรรมชาติที่มีให้เลือกชมสวนได้หลายเส้นทางและกลุ่มอาคารเรือนกระจกซึ่งรวบรวมชนิดพรรณพืชที่มีความหลากหลายทั้งพรรณไม้พื้นเมืองประจำถิ่นและพรรณไม้จากต่างประเทศเส้นทางศึกษาธรรมชาติได้แก่เส้นทางมี 41. เส้นทางสวนรุกชาติ (ตัมบันทึก)เส้นทางนี้ผ่านแปลงรวมพันธุ์กล้วยบอนปาล์มเฟินแปลงขิงข่าปรงและสนระยะทางประมาณ 600 เมตร2. เส้นทางพันธุ์ไม้ไทยและพืชสมุนไพรเส้นทางนี้เป็นแหล่งรวบรวมพรรณไม้ไทยไว้กว่า 1000 สิ่งอาทิพืชสมุนไพรพันธุ์ไม้หายากและพันธุ์ไม้ประจำจังหวัดระหว่างเส้นทางเดินท่านจะพบพันธุ์ไม้ที่น่าสนใจและป้ายสื่อความหมายที่อธิบายสรรพคุณของพืชสมุนไพรแต่ละชนิดไว้อย่างน่าสนใจและมีการเสริมภูมิทัศน์ด้วยกล้วยไม้ไทยนานาชนิดให้ความสวยงามและร่มรื่นเส้นทางเดินจะใช้เวลาประมาณ 30-45 นาที3. เส้นทางวลัยชาติ (เถาวัลย์บันทึก)ชาติหรือไม้เลื้อยคือในการเลื้อยพันและพรรณไม้ที่ต้องการสิ่งที่อาศัยสิ่งยึดเกาะ (ผู้สนับสนุน) อื่น ๆ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

(อสพ.) ได้รับการก่อตั้งตามพระราชกฤษฎีกาเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2535 คือศาสตราจารย์ดร. สง่าสรรพศรี ปี พ.ศ. 2545
อ. แม่ริมจ. เชียงใหม่เดิมมีชื่อว่า "สวนพฤกษศาสตร์แม่สา" อ.ส.พ. มีการบริหารจัดการตามมาตรฐานสากล ศึกษาวิจัย
พ.ศ. 2537 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถให้ใช้ชื่อสวนพฤกษศาสตร์แห่งนี้ว่า
ตั้งอยู่ที่ตำบลแม่แรมอำเภอแม่ริมจังหวัดเชียงใหม่ดำเนินงานโดยองค์การสวนพฤกษศาสตร์ (อสพ.) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ
6,500 ไร่ ในระดับ 300-970 เมตร พระบรมราชินีนาถ ได้แก่อาคารสารนิเทศ (ข้อมูล ผู้สนใจสามารถขอชมวิดิทัศน์และมัลติวิชั่นสไลด์ อื่น ๆ บริการสำหรับนักท่องเที่ยว ได้แก่ คุณน้ำดื่มโทรศัพท์สาธารณะสุขาห้องขายของที่ระลึกและห้องปฐมพยาบาลอาคารฝ่ายบริหาร(อาคารบริหาร) เป็นที่ทำการของผู้อำนวยการรองผู้อำนวยการและเป็นที่ตั้งของสำนักอำนวยการ (การ์เด้น และกลุ่มอาคารเรือนกระจก (เรือนและเรือนกระจก) รวมทั้งพรรณไม้หายากและพืชสมุนไพร 1,000 ตารางเมตรสูง 33 เมตร (บ้านทรอปิคอล) โรงเรือนกระจกอื่น ๆ ได้แก่ โรงเรือนแสดงไม้น้ำ (น้ำบ้าน) โรงเรือนไม้เขตแล้ง (แห้งแล้งบ้าน) โรงเรือนกล้วยไม้และเฟิน (กล้วยไม้และเฟิร์นบ้าน) และ เครื่องเทศสมุนไพรพืชและพืชผักพื้นบ้านเป็นต้นกลุ่มอาคาร "ศูนย์วิจัยและพัฒนาสง่าสรรพศรี" (ปรีชา Sabhasri ศูนย์วิจัยและพัฒนา) ประกอบด้วย 3 อาคารคือ1. อาคารหอพรรณไม้ (สมุนไพร) (เฉพาะเวลาราชการ) มีศูนย์ข้อมูลพืช ข้อมูลพรรณไม้ภายในสวนฯ ข้อมูลตัวอย่างพรรณไม้แห้ง ฯลฯ อาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ (พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ) อาคารวิจัย (ห้องปฏิบัติการ) งานวิจัยที่มีอยู่ในปัจจุบันคืองานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (Tissue วัฒนธรรม) งานอนุรักษ์เมล็ดพันธุ์ (Seed อนุรักษ์) งานพฤกษเคมี (พฤกษเคมี) และงานวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ (ความหลากหลายทางชีวภาพ) หมายเหตุ: (ศูนย์ฝึกอบรม) ประกอบด้วยอาคารประชุมสัมมนาห้องพักที่ทันสมัยพร้อมสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆอาทิภัตตาคารสระว่ายน้ำห้องออกกำลังกาย ฯลฯ ปัจจุบัน อ.ส.พ. "โบตานิครีสอร์ท" นอกจากนี้แล้วยังมีค่ายพักแรมเยาวชน - นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ คือ 4 เส้นทาง ได้แก่1. เส้นทางสวนรุกชาติ (สวนรุกขชาติ บอนปาล์มเฟินแปลงขิงข่าปรงและสนระยะทางประมาณ 600 เมตร2 1,000 ชนิดอาทิพืชสมุนไพรพันธุ์ไม้หายากและพันธุ์ไม้ประจำจังหวัด แต่ละชนิดไว้อย่างน่าสนใจ ให้ความสวยงามและร่มรื่นเส้นทางเดินจะใช้เวลาประมาณ 30-45 นาที3. เส้นทางวลัยชาติ (Climber Trail) ชาติหรือไม้เลื้อยคือ (ผู้สนับสนุน) อื่น ๆ ในการเลื้อยพันและ


























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
การก่อตั้งองค์การสวนพฤกษศาสตร์และสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
องค์การสวนพฤกษศาสตร์ ( อสพ ) ได้รับการก่อตั้งตามพระราชกฤษฎีกาเมื่อวันที่ 7 เมษายนพ . ศ .2535 โดยบุคคลที่ได้ชื่อว่ามีบทบาทสำคัญในการก่อตั้งองค์การสวนพฤกษศาสตร์และสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ความศาสตราจารย์ดร .สง่าสรรพศรีซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมองค์การสวนพฤกษศาสตร์มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีมาจนถึงเดือนตุลาคม . พ . ศ .2545 จึงได้ย้ายมาสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ Admiral แม่ริม . . . .เชียงใหม่เดิมมีชื่อว่า " สวนพฤกษศาสตร์แม่สา " เป็นสวนพฤกษศาสตร์ที่กรมป่าไม้จัดตั้งขึ้นให้เป็นสวนพฤกษศาสตร์ประจำภาคเหนือของประเทศไทยหลังจากที่ได้มีการสถาปนาองค์การสวนพฤกษศาสตร์ขึ้นAdmiralส . พ . และได้รับการวางแผนและพัฒนาให้เป็นสวนพฤกษศาสตร์ระดับสากลแห่งแรกของประเทศมีการบริหารจัดการตามมาตรฐานสากลโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรพืชศึกษาวิจัยและเผยแพร่ความรู้ทางด้านพฤกษศาสตร์
ต่อมาในปีพ . ศ . 2537 องค์การสวนพฤกษศาสตร์ได้รับพระราชทานพระราชานุญาตจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถให้ใช้ชื่อสวนพฤกษศาสตร์แห่งนี้ว่า " สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ "
สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ตั้งอยู่ที่ตำบลแม่แรมอำเภอแม่ริม Thanawat Thongtan ดำเนินงานโดยองค์การสวนพฤกษศาสตร์ ( อสพซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในความดูแลของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
)มีพื้นที่ประมาณ 6500 ไร่สภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบและที่สูงสลับกันเป็นชั้นๆในระดับ 300-970 เมตรจัดทำเป็นสวนพฤกษศาสตร์ระดับนานาชาติเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: