9. งูสวัด ติดต่อได้หรือไม่  งูสวัดมีสาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัสชนิดเดียวกั การแปล - 9. งูสวัด ติดต่อได้หรือไม่  งูสวัดมีสาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัสชนิดเดียวกั อังกฤษ วิธีการพูด

9. งูสวัด ติดต่อได้หรือไม่ งูสวัดม

9. งูสวัด ติดต่อได้หรือไม่

งูสวัดมีสาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัสชนิดเดียวกันกับโรคอีสุกอีใสซึ่งสามารถติดต่อกันได้จากการหายใจ สัมผัสกับตุ่มน้ำใสที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยโดยตรงได้เช่นกัน แต่ทั้งนี้หากผู้ที่รับเชื้อเข้าไปแล้วยังไม่เคยเป็นโรคอีสุกอีใสมาก่อน อาการที่แสดงออกมาก็จะเป็นเพียงโรคอีสุกอีใส แต่ถ้าหากเคยเป็นโรคอีสุกอีใสแล้วเชื้อนี้ก็อาจจะเข้าไปหลบซ่อนอยู่ในปมประสาทของร่างกายและแสดงอาการเป็นงูสวัดต่อไปเมื่อผู้รับเชื้อมีระบบภูมิคุ้มกันที่ต่ำกว่าปกติ

10. งูสวัด พันรอบตัวทำให้เสียชีวิตได้จริงหรือไม่ ?

ในเรื่องความเชื่อที่ว่าถ้าหากงูสวัดขึ้นรอบตัวแล้วจะทำให้เสียชีวิตนั้น เป็นเพียงแค่ความเชื่อผิด ๆ ค่ะ เพราะถึงแม้ว่ารอยโรคของงูสวัดจะเป็นกลุ่มตุ่มน้ำใส ๆ เรียงกันเป็นกลุ่มตามแนวยาวของเส้นประสาท แต่ก็เกิดขึ้นกับแค่เฉพาะซีกใดซีกหนึ่งของร่างกายเท่านั้น เว้นแต่ในกรณีที่ผู้ป่วยมีร่างกายอ่อนแอก็อาจจะมีอาการลุกลามที่มากกว่าปกติ แต่ยังไม่มีการพบว่าโรคงูสวัดสามารถทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตได้แต่อย่างใด

11. วิธีป้องกันงูสวัด ต้องทำอย่างไรบ้างนะ ?

การป้องกันงูสวัดต้องเกิดขึ้นจากทั้งสองฝ่ายไม่ว่าจะเป็นผู้ป่วยหรือผู้ที่อยู่ใกล้ชิด โดยผู้ป่วยหากอยู่ในช่วงที่เป็นงูสวัดควรรักษาความสะอาดของตัวเองให้มากขึ้น หมั่นล้างมือทุกครั้งที่สัมผัสกับตุ่มน้ำ เพื่อไม่ให้เชื้อแพร่กระจาย วิธีที่ดีที่สุดก็คือไม่ควรสัมผัสบาดแผลโดยตรง เพราะอาจจะทำให้เชื้อติดมาที่มือและเผลอนำเชื้อไวรัสไปสัมผัสกับผู้อื่นโดยไม่รู้ตัว

ส่วนผู้ที่อยู่ใกล้ชิด และผู้คนทั่วไปที่ไม่ได้เป็นงูสวัด หากไม่เคยเป็นโรคอีสุกอีใสมาก่อน ควรระมัดระวัง ตัวหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับบาดแผลของผู้ป่วย ถ้าหากเคยเป็นโรคอีสุกอีใสแล้ว ควรดูแลสุขภาพของตัวเองให้แข็งแรงอยู่เสมอ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และพักผ่อนให้เพียงพอ หมั่นออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง ก็จะช่วยป้องกันโรคงูสวัดได้อีกทางหนึ่ง นอกจากนี้การฉีดวัคซีนป้องกันงูสวัดก็เป็นวิธีป้องกันที่ดีและมีประสิทธิภาพมาก ซึ่งในปัจจุบันก็สามารถหาฉีดได้ตามโรงพยาบาลทั่วไป

12. วัคซีนป้องกันงูสวัด คืออะไร ?

วัคซีนป้องกันโรคงูสวัด คือวัคซีนที่สามารถช่วยป้องกันการสำแดงของโรคงูสวัดที่เกิดจากเชื้อไวรัสวาริเซลล่าซอสเตอร์ (varicella zoster virus) โดยวัคซีนชนิดนี้เป็นวัคซีนที่ป้องกันได้แต่เพียงโรคงูสวัดเท่านั้น เนื่องจากเป็นวัคซีนที่มีความเข้มข้นสูงกว่าวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใสถึง 14 เท่า ดังนั้นถ้าหากไม่เคยเป็นโรคอีสุกอีใสมาก่อน ไม่ควรฉีดวัคซีนป้องกันงูสวัด แต่ควรฉีดวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใส นอกจากนี้ควรทำความเข้าใจก่อนว่าถึงแม้จะฉีดวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใสก็มีโอกาสที่จะเกิดโรคงูสวัดได้ เพียงแต่อาการจะไม่รุนแรงเท่าคนที่ไม่ได้รับวัคซีน

ทั้งนี้กลุ่มเสี่ยงที่ควรฉีดวัคซีนป้องกันโรคงูสวัดก็คือผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป และเคยเป็นโรคอีสุกอีใสมาก่อน เพราะผู้ป่วยสูงอายุจะมีอาการรุนแรงกว่าคนทั่วไป ระยะเวลาของอาการก็จะยาวนานหลายเดือน และอาจมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นได้ง่ายอีกด้วย การป้องกันไม่ให้เกิดจึงเป็นวิธีที่ดีที่สุดค่ะ

13. งูสวัดเป็นได้กี่ครั้ง โอกาสเป็นซ้ำมีหรือไม่ ?

แม้ว่าเชื้อไวรัสวาริเซลล่า ซอสเตอร์ (varicella zoster virus) จะทำให้ผู้ที่ป่วยเป็นโรคอีสุกอีใสมาก่อน เป็นโรคงูสวัดได้ในภายหลัง แต่ถ้าหากผู้ป่วยเป็นโรคงูสวัดแล้ว โอกาสที่จะติดเชื้อดังกล่าวและกลับมาเป็นโรคงูสวัดอีกครั้งนั้นมีน้อยมาก ซึ่งถ้าหากมีการกลับมาเป็นซ้ำอาการจะไม่ใช่การเกิดผื่นหรือตุ่มน้ำใส แต่จะเป็นอาการปวดตามแนวเส้นประสาทเสียมากกว่าค่ะ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับระบบภูมิคุ้มกันของผู้ป่วยด้วย หากภูมิคุ้มกันแข็งแรงก็จะไม่มีการกลับมาเป็นซ้ำแน่นอน

14. งูสวัดหายแล้วจะเป็นแผลเป็นไหม ?

งูสวัดก็เช่นเดียวกับโรคอีสุกอีใส ถ้าหากเราดูแลตัวเองดี ไม่เกาที่แผลและไม่นำเข็มหรือของปลายแหลมมาจิ้มตุ่มน้ำใสให้แตกเพราะอยากบรรเทาอาการแสบคันละก็ ไม่มีทางที่จะแผลเป็นอย่างแน่นอน ฉะนั้นถ้าหากมีอาการคันไม่ควรไปยุ่งกับบริเวณแผล แต่ควรรับประทานยาแก้คันแทนค่ะ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
9. งูสวัด ติดต่อได้หรือไม่ งูสวัดมีสาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัสชนิดเดียวกันกับโรคอีสุกอีใสซึ่งสามารถติดต่อกันได้จากการหายใจ สัมผัสกับตุ่มน้ำใสที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยโดยตรงได้เช่นกัน แต่ทั้งนี้หากผู้ที่รับเชื้อเข้าไปแล้วยังไม่เคยเป็นโรคอีสุกอีใสมาก่อน อาการที่แสดงออกมาก็จะเป็นเพียงโรคอีสุกอีใส แต่ถ้าหากเคยเป็นโรคอีสุกอีใสแล้วเชื้อนี้ก็อาจจะเข้าไปหลบซ่อนอยู่ในปมประสาทของร่างกายและแสดงอาการเป็นงูสวัดต่อไปเมื่อผู้รับเชื้อมีระบบภูมิคุ้มกันที่ต่ำกว่าปกติ 10. งูสวัด พันรอบตัวทำให้เสียชีวิตได้จริงหรือไม่ ? ในเรื่องความเชื่อที่ว่าถ้าหากงูสวัดขึ้นรอบตัวแล้วจะทำให้เสียชีวิตนั้น เป็นเพียงแค่ความเชื่อผิด ๆ ค่ะ เพราะถึงแม้ว่ารอยโรคของงูสวัดจะเป็นกลุ่มตุ่มน้ำใส ๆ เรียงกันเป็นกลุ่มตามแนวยาวของเส้นประสาท แต่ก็เกิดขึ้นกับแค่เฉพาะซีกใดซีกหนึ่งของร่างกายเท่านั้น เว้นแต่ในกรณีที่ผู้ป่วยมีร่างกายอ่อนแอก็อาจจะมีอาการลุกลามที่มากกว่าปกติ แต่ยังไม่มีการพบว่าโรคงูสวัดสามารถทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตได้แต่อย่างใด 11. วิธีป้องกันงูสวัด ต้องทำอย่างไรบ้างนะ ? การป้องกันงูสวัดต้องเกิดขึ้นจากทั้งสองฝ่ายไม่ว่าจะเป็นผู้ป่วยหรือผู้ที่อยู่ใกล้ชิด โดยผู้ป่วยหากอยู่ในช่วงที่เป็นงูสวัดควรรักษาความสะอาดของตัวเองให้มากขึ้น หมั่นล้างมือทุกครั้งที่สัมผัสกับตุ่มน้ำ เพื่อไม่ให้เชื้อแพร่กระจาย วิธีที่ดีที่สุดก็คือไม่ควรสัมผัสบาดแผลโดยตรง เพราะอาจจะทำให้เชื้อติดมาที่มือและเผลอนำเชื้อไวรัสไปสัมผัสกับผู้อื่นโดยไม่รู้ตัว ส่วนผู้ที่อยู่ใกล้ชิด และผู้คนทั่วไปที่ไม่ได้เป็นงูสวัด หากไม่เคยเป็นโรคอีสุกอีใสมาก่อน ควรระมัดระวัง ตัวหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับบาดแผลของผู้ป่วย ถ้าหากเคยเป็นโรคอีสุกอีใสแล้ว ควรดูแลสุขภาพของตัวเองให้แข็งแรงอยู่เสมอ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และพักผ่อนให้เพียงพอ หมั่นออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง ก็จะช่วยป้องกันโรคงูสวัดได้อีกทางหนึ่ง นอกจากนี้การฉีดวัคซีนป้องกันงูสวัดก็เป็นวิธีป้องกันที่ดีและมีประสิทธิภาพมาก ซึ่งในปัจจุบันก็สามารถหาฉีดได้ตามโรงพยาบาลทั่วไป 12. วัคซีนป้องกันงูสวัด คืออะไร ? วัคซีนป้องกันโรคงูสวัด คือวัคซีนที่สามารถช่วยป้องกันการสำแดงของโรคงูสวัดที่เกิดจากเชื้อไวรัสวาริเซลล่าซอสเตอร์ (varicella zoster virus) โดยวัคซีนชนิดนี้เป็นวัคซีนที่ป้องกันได้แต่เพียงโรคงูสวัดเท่านั้น เนื่องจากเป็นวัคซีนที่มีความเข้มข้นสูงกว่าวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใสถึง 14 เท่า ดังนั้นถ้าหากไม่เคยเป็นโรคอีสุกอีใสมาก่อน ไม่ควรฉีดวัคซีนป้องกันงูสวัด แต่ควรฉีดวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใส นอกจากนี้ควรทำความเข้าใจก่อนว่าถึงแม้จะฉีดวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใสก็มีโอกาสที่จะเกิดโรคงูสวัดได้ เพียงแต่อาการจะไม่รุนแรงเท่าคนที่ไม่ได้รับวัคซีน
ทั้งนี้กลุ่มเสี่ยงที่ควรฉีดวัคซีนป้องกันโรคงูสวัดก็คือผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป และเคยเป็นโรคอีสุกอีใสมาก่อน เพราะผู้ป่วยสูงอายุจะมีอาการรุนแรงกว่าคนทั่วไป ระยะเวลาของอาการก็จะยาวนานหลายเดือน และอาจมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นได้ง่ายอีกด้วย การป้องกันไม่ให้เกิดจึงเป็นวิธีที่ดีที่สุดค่ะ

13. งูสวัดเป็นได้กี่ครั้ง โอกาสเป็นซ้ำมีหรือไม่ ?

แม้ว่าเชื้อไวรัสวาริเซลล่า ซอสเตอร์ (varicella zoster virus) จะทำให้ผู้ที่ป่วยเป็นโรคอีสุกอีใสมาก่อน เป็นโรคงูสวัดได้ในภายหลัง แต่ถ้าหากผู้ป่วยเป็นโรคงูสวัดแล้ว โอกาสที่จะติดเชื้อดังกล่าวและกลับมาเป็นโรคงูสวัดอีกครั้งนั้นมีน้อยมาก ซึ่งถ้าหากมีการกลับมาเป็นซ้ำอาการจะไม่ใช่การเกิดผื่นหรือตุ่มน้ำใส แต่จะเป็นอาการปวดตามแนวเส้นประสาทเสียมากกว่าค่ะ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับระบบภูมิคุ้มกันของผู้ป่วยด้วย หากภูมิคุ้มกันแข็งแรงก็จะไม่มีการกลับมาเป็นซ้ำแน่นอน

14. งูสวัดหายแล้วจะเป็นแผลเป็นไหม ?

งูสวัดก็เช่นเดียวกับโรคอีสุกอีใส ถ้าหากเราดูแลตัวเองดี ไม่เกาที่แผลและไม่นำเข็มหรือของปลายแหลมมาจิ้มตุ่มน้ำใสให้แตกเพราะอยากบรรเทาอาการแสบคันละก็ ไม่มีทางที่จะแผลเป็นอย่างแน่นอน ฉะนั้นถ้าหากมีอาการคันไม่ควรไปยุ่งกับบริเวณแผล แต่ควรรับประทานยาแก้คันแทนค่ะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
9. Herpes zoster. Contact or

.Varicella zoster virus have caused the same kind with chicken pox, which can communicate by breathing. In contact with the water blister happened to direct patient as well.The show is just chicken pox.
10. Herpes zoster, wrapped around the fatal?

.In the belief that if the shingles up around and can lead to death, just believe is wrong. Because although the lesions of herpes zoster is a group blister sai Group, arranged along the length of the spinal cord.Except in patients having a weak body's symptoms may be advanced more than usual. But no found shingles can make patient be fatal but
.
11. How to prevent herpes zoster. Do?

.Prevention of herpes zoster must arise from both sides, whether patients or those who close. The patients in the shingles should keep yourself clean. Keep hands every time in contact with the water jarThe best way is not to touch the wounds directly. It may cause infection on hands and accidentally brought the virus to contact with others unconsciously
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: