สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงเป็นวีรกษัตริย์นักรบที่มีพระปรีชาสามารถยิ่ง ท การแปล - สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงเป็นวีรกษัตริย์นักรบที่มีพระปรีชาสามารถยิ่ง ท อังกฤษ วิธีการพูด

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงเป็นวีรกษั

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงเป็นวีรกษัตริย์นักรบที่มีพระปรีชาสามารถยิ่ง ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่กอบกู้เอกราชให้ชาติไทย โดยเฉพาะวีรกรรมที่ทรงกระทำยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชาแห่งพม่านั้น . . . เป็นที่เลื่องลือมาจนถึงปัจจุบัน โดยให้มีการจัดกิจกรรม การประกอบพิธีบวงสรวง การวางพานพุ่มสักการะที่บริเวณพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ และให้มีงานสมโภชอนุสรณ์ดอนเจดีย์ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในวันที่ ๑๘ มกราคม เป็นประจำทุกปี เพื่อเป็นการรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่าน



วันที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงกระทำยุทธหัตถีมีชัยชนะต่อพระมหาอุปราชา เรียกกันว่า “วันสมเด็จพระนเรศวรมหาราช” และทางกองทัพไทยได้กำหนดให้เป็น “วันกองทัพไทย” ด้วย ซึ่งตรงกับวันที่ ๒๕ มกราคม ของทุกปี ต่อมาเมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๘ คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติให้วันที่ ๒๕ เมษายนของทุกปี เป็น “วันคล้ายวันสวรรคตของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช” และเป็นวันรัฐพิธี แทนวันจันทร์ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๖ อันเป็นการนับทางจันทรคติ โดยให้มีการวางพวงมาลาและสักการะ แต่ไม่ถือเป็นวันหยุดราชการ และได้กำหนดใหม่ ให้วันที่ ๑๘ มกราคม ของทุกปีเป็น “วันยุทธหัตถี” และเป็นวันรัฐพิธีแทนวันที่ ๒๕ มกราคมของทุกปี โดยให้มีการวางพานพุ่มสักการะ แต่ไม่ถือเป็นวันหยุดราชการเช่นกัน การที่มีการเปลี่ยนแปลงวันทั้งสองดังกล่าว ก็ด้วยว่าเป็นการนับวันทางสุริยคติ ซึ่งคนปัจจุบันคุ้นชิน จำได้ง่าย และมีความเหมาะสมมากกว่า อีกทั้ง นายประเสริฐ ณ นคร ราชบัณฑิต ก็ได้คำนวณแล้วพบว่าการนับวันทางจันทรคติของวันกระทำยุทธหัตถีเดิมที่ตรงกับวันจันทร์ เดือน ๒ แรม ๒ ค่ำ จุลศักราช ๙๕๔ ที่กำหนดเป็นวันที่ ๒๕ มกราคมนั้น คลาดเคลื่อน จึงได้มีการเปลี่ยนใหม่ให้ตรงกับความเป็นจริง คือ เป็นวันที่ ๑๘ มกราคมดังกล่าว ดังนั้น ในปัจจุบัน วันที่ ๑๘ มกราคม จึงถือเป็น “วันยุทธหัตถี” หรือ “วันสมเด็จพระนเรศวรมหาราช”

3

ยุทธหัตถี หมายถึง การต่อสู้ด้วยอาวุธบนหลังช้าง เป็นการรบอย่างกษัตริย์สมัยโบราณ โดยบนหลังช้างจะมีคนนั่งอยู่สามคน ตัวแม่ทัพจะถือง้าวอยู่ที่คอช้าง คนที่นั่งกลางจะอยู่บนกูบและถือหางนกยูงซ้ายขวาโบกเป็นสัญญาณ และคอยส่งอาวุธให้แม่ทัพ อาจจะมีการสับเปลี่ยนที่นั่งกันตอนกระทำการรบ ที่ท้ายช้างจะมีควาญนั่งประจำที่ ตามเท้าช้างทั้งสี่มีพลประจำเรียกว่า จตุรงคบาท คนทั้งหมดจะถืออาวุธ เช่น ปืนปลายขอ หอกซัด ของ้าว ขอเกราะเขน แพน ถ้าเป็นช้างยุทธหัตถีจะมีหอกผูกผ้าสีแดงสองเล่ม ปืนใหญ่หันปากออกข้างขวาหนึ่งกระบอก ข้างซ้ายหนึ่งกระบอก มีนายทหารและพลทหารสวมเกราะโพกผ้า ช้างที่เข้ากระบวนทัพจะสวมเกราะใส่เกือกหรือรองเท้าเหล็กสำหรับกันขวากหนาม โดยทั้งที่สี่เท้าสวมหน้าราห์มีปลอกเหล็กสวมงาทั้งคู่ และมีเกราะโว่พันงวงช้าง สำหรับพังหอค่ายโดยไม่เจ็บปวด การต่อสู้ด้วยอาวุธบนหลังช้าง ถือเป็นคติมาแต่โบราณว่าเป็นยอดยุทธวิถีของนักรบ เพราะเป็นการต่อสู้กันตัวต่อตัว แพ้ชนะกันด้วยความคล่องแคล่ว บวกกับความชำนิชำนาญในการขับขี่ช้างชน ไม่ได้อาศัยลี้พลหรือกลอุบายแต่อย่างใด กล่าวกันว่า ในชมพูทวีป (ดินแดนที่เป็นอินเดีย ปากีสถาน เนปาลและบังคลาเทศในปัจจุบัน) ถือเป็นคติมาแต่ดึกดำบรรพ์ว่า ยุทธหัตถีหรือการชนช้างเป็นยอดยุทธวิธีของนักรบ เพราะเป็นการต่อสู้อย่างตัวต่อตัว แพ้ชนะกันด้วยความคล่องแคล่วแกล้วกล้า กับการชำนิชำนาญในการขับขี่ช้างชน โดยมิต้องอาศัยรี้พลหรือกลอุบายแต่อย่างใด เพราะโดยปกติ ในการทำสงครามโอกาสที่จอมทัพทั้งสองฝ่ายจะเข้าใกล้ชิดจนถึงชนช้างกันมีน้อยมาก ดังนั้น กษัตริย์พระองค์ใดกระทำยุทธหัตถีชนะก็จะได้รับการยกย่องว่า มีพระเกียรติยศสูงสุด และแม้แต่ผู้แพ้ก็ได้รับการยกย่องสรรเสริญว่าเป็นนักรบแท้ มิได้ติเตียนกันเลย ซึ่งคติที่ว่าเป็นความนิยมของไทยด้วยเช่นกัน



สำหรับความเป็นมาของการทำยุทธหัตถีที่สำคัญที่สุดของไทยก็คือ ในสมัยที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกระทำยุทธหัตถีชนะสมเด็จพระมหาอุปราชา จากข้อความในหนังสือพงศาวดารตอนที่สำคัญที่สุดของประวัติศาสตร์ของชาติไทยกล่าวไว้ดังนี้



สงครามยุทธหัตถีในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนั้น เกิดเมื่อปี พ.ศ. ๒๑๓๕ เมื่อพระเจ้านันทบุเรงได้ให้พระมหาอุปราชายกทัพใหญ่มาตีกรุงศรีอยุธยา หวังจะเอาชนะให้ได้โดยเด็ดขาด สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงทราบข่าวจึงยกทัพหลวงไปตั้งรับที่หนองสาหร่าย ซึ่งในการต่อสู้กันครั้งนั้น ระหว่างที่การรบกำลังติดพัน ช้างพระที่นั่งของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และพระเอกาทศรถก็พากันไล่ล่าศัตรูอย่างเมามัน จนพาทั้งสองพระองค์ตกไปอยู่ในวงล้อมของข้าศึกโดยไม่รู้ตัว มีเพียงจตุลังคบาท(ผู้รักษาเท้าทั้งสี่ของช้างทรง) และทหารรักษาพระองค์เท่านั้นที่ติดตามไปทัน แม้จะอยู่ในสภาวะเสียเปรียบ แต่พระองค์ก็มีพระสติมั่น ไม่หวั่นไหว ทรงมีพระปฏิภาณว่องไวเกิดขึ้นโดยพระอุปนิสัยว่า พระองค์จะรอดได้มีเพียงทางเดียวคือ เชิญพระมหาอุปราชาเสด็จมาทำยุทธหัตถี ซึ่งพระองค์ก็สามารถกระทำยุทธหัตถีจนได้ชัยชนะอย่างสมพระเกียรติ และนับแต่นั้นมาก็ไม่มีกองทัพใดกล้ายกมาตีกรุงศรีอยุธยาอีกเลย มีแต่ฝ่ายไทยยกไปปราบปรามข้าศึก และทำสงครามขยายอาณาเขตให้กว้างขวางขึ้นกว่าแต่ก่อน

สำหรับช้างพระที่นั่งของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชที่มีชัยแก่ข้าศึกในสงครามยุทธหัตถี แต่เดิมมีชื่อว่า “พลายภูเขาทอง” เมื่อขึ้นระวางได้เป็น “เจ้าพระยาไชยานุภาพ” และเมื่อมีชัยก็ได้รับพระราชทานชื่อว่า “เจ้าพระยาปราบหงสา” ส่วนพระแสงของ้าวที่ทรงฟันพระมหาอุปราชา มีชื่อว่า “เจ้าพระยาแสนพลพ่าย” และพระมาลาที่ถูกฟันขาดลงไป ตอนทรงเบี่ยงหลบ มีชื่อว่า “พระมาลาเบี่ยง”



สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงเชี่ยวชาญการรบยิ่ง ทรงฉลาดในการวางแผนยุทธวิธีและอุบายกระบวนศึกที่ไม่เหมือนผู้ใดในสมัยเดียวกัน ทรงเป็นผู้ริเริ่มการรบแบบกองโจร คือ ใช้คนน้อยแต่สามารถต่อสู้กับคนจำนวนมากได้ พระองค์มีความสามารถในการใช้อาวุธที่ทำการรบแทบทุกชนิดอย่างเชี่ยวชาญ ยากจะหาผู้ใดเสมอเหมือน อาวุธที่พระองค์ได้แสดงความสามารถให้ประจักษ์มาแล้ว ได้แก่

๑.ปืน เช่น เหตุการณ์ที่แม่น้ำสะโตง ที่ทรงยิงพระแสงปืนกระบอกหนึ่งยาว ๙ คืบถูกสุรกรรมา ผู้บังคับกองฯของพม่า
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Naresuan the King warrior hero of intuition can be, the more he is the King of the Commonwealth, he first salvage Thailand's national. Especially bad that makes war with the Burmese Kings built a King is to spread a rumor..., in connection with the activity. A ceremony to worship the spirits placed near shrubs at the Grand paradise com, son Don Chedi and tea with the Don Chedi Memorial Sompoch to honor King naresuan. In a January 18 every year to commemorate his divine grace you. วันที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงกระทำยุทธหัตถีมีชัยชนะต่อพระมหาอุปราชา เรียกกันว่า “วันสมเด็จพระนเรศวรมหาราช” และทางกองทัพไทยได้กำหนดให้เป็น “วันกองทัพไทย” ด้วย ซึ่งตรงกับวันที่ ๒๕ มกราคม ของทุกปี ต่อมาเมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๘ คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติให้วันที่ ๒๕ เมษายนของทุกปี เป็น “วันคล้ายวันสวรรคตของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช” และเป็นวันรัฐพิธี แทนวันจันทร์ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๖ อันเป็นการนับทางจันทรคติ โดยให้มีการวางพวงมาลาและสักการะ แต่ไม่ถือเป็นวันหยุดราชการ และได้กำหนดใหม่ ให้วันที่ ๑๘ มกราคม ของทุกปีเป็น “วันยุทธหัตถี” และเป็นวันรัฐพิธีแทนวันที่ ๒๕ มกราคมของทุกปี โดยให้มีการวางพานพุ่มสักการะ แต่ไม่ถือเป็นวันหยุดราชการเช่นกัน การที่มีการเปลี่ยนแปลงวันทั้งสองดังกล่าว ก็ด้วยว่าเป็นการนับวันทางสุริยคติ ซึ่งคนปัจจุบันคุ้นชิน จำได้ง่าย และมีความเหมาะสมมากกว่า อีกทั้ง นายประเสริฐ ณ นคร ราชบัณฑิต ก็ได้คำนวณแล้วพบว่าการนับวันทางจันทรคติของวันกระทำยุทธหัตถีเดิมที่ตรงกับวันจันทร์ เดือน ๒ แรม ๒ ค่ำ จุลศักราช ๙๕๔ ที่กำหนดเป็นวันที่ ๒๕ มกราคมนั้น คลาดเคลื่อน จึงได้มีการเปลี่ยนใหม่ให้ตรงกับความเป็นจริง คือ เป็นวันที่ ๑๘ มกราคมดังกล่าว ดังนั้น ในปัจจุบัน วันที่ ๑๘ มกราคม จึงถือเป็น “วันยุทธหัตถี” หรือ “วันสมเด็จพระนเรศวรมหาราช”3.ยุทธหัตถี หมายถึง การต่อสู้ด้วยอาวุธบนหลังช้าง เป็นการรบอย่างกษัตริย์สมัยโบราณ โดยบนหลังช้างจะมีคนนั่งอยู่สามคน ตัวแม่ทัพจะถือง้าวอยู่ที่คอช้าง คนที่นั่งกลางจะอยู่บนกูบและถือหางนกยูงซ้ายขวาโบกเป็นสัญญาณ และคอยส่งอาวุธให้แม่ทัพ อาจจะมีการสับเปลี่ยนที่นั่งกันตอนกระทำการรบ ที่ท้ายช้างจะมีควาญนั่งประจำที่ ตามเท้าช้างทั้งสี่มีพลประจำเรียกว่า จตุรงคบาท คนทั้งหมดจะถืออาวุธ เช่น ปืนปลายขอ หอกซัด ของ้าว ขอเกราะเขน แพน ถ้าเป็นช้างยุทธหัตถีจะมีหอกผูกผ้าสีแดงสองเล่ม ปืนใหญ่หันปากออกข้างขวาหนึ่งกระบอก ข้างซ้ายหนึ่งกระบอก มีนายทหารและพลทหารสวมเกราะโพกผ้า ช้างที่เข้ากระบวนทัพจะสวมเกราะใส่เกือกหรือรองเท้าเหล็กสำหรับกันขวากหนาม โดยทั้งที่สี่เท้าสวมหน้าราห์มีปลอกเหล็กสวมงาทั้งคู่ และมีเกราะโว่พันงวงช้าง สำหรับพังหอค่ายโดยไม่เจ็บปวด การต่อสู้ด้วยอาวุธบนหลังช้าง ถือเป็นคติมาแต่โบราณว่าเป็นยอดยุทธวิถีของนักรบ เพราะเป็นการต่อสู้กันตัวต่อตัว แพ้ชนะกันด้วยความคล่องแคล่ว บวกกับความชำนิชำนาญในการขับขี่ช้างชน ไม่ได้อาศัยลี้พลหรือกลอุบายแต่อย่างใด กล่าวกันว่า ในชมพูทวีป (ดินแดนที่เป็นอินเดีย ปากีสถาน เนปาลและบังคลาเทศในปัจจุบัน) ถือเป็นคติมาแต่ดึกดำบรรพ์ว่า ยุทธหัตถีหรือการชนช้างเป็นยอดยุทธวิธีของนักรบ เพราะเป็นการต่อสู้อย่างตัวต่อตัว แพ้ชนะกันด้วยความคล่องแคล่วแกล้วกล้า กับการชำนิชำนาญในการขับขี่ช้างชน โดยมิต้องอาศัยรี้พลหรือกลอุบายแต่อย่างใด เพราะโดยปกติ ในการทำสงครามโอกาสที่จอมทัพทั้งสองฝ่ายจะเข้าใกล้ชิดจนถึงชนช้างกันมีน้อยมาก ดังนั้น กษัตริย์พระองค์ใดกระทำยุทธหัตถีชนะก็จะได้รับการยกย่องว่า มีพระเกียรติยศสูงสุด และแม้แต่ผู้แพ้ก็ได้รับการยกย่องสรรเสริญว่าเป็นนักรบแท้ มิได้ติเตียนกันเลย ซึ่งคติที่ว่าเป็นความนิยมของไทยด้วยเช่นกัน สำหรับความเป็นมาของการทำยุทธหัตถีที่สำคัญที่สุดของไทยก็คือ ในสมัยที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกระทำยุทธหัตถีชนะสมเด็จพระมหาอุปราชา จากข้อความในหนังสือพงศาวดารตอนที่สำคัญที่สุดของประวัติศาสตร์ของชาติไทยกล่าวไว้ดังนี้ สงครามยุทธหัตถีในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนั้น เกิดเมื่อปี พ.ศ. ๒๑๓๕ เมื่อพระเจ้านันทบุเรงได้ให้พระมหาอุปราชายกทัพใหญ่มาตีกรุงศรีอยุธยา หวังจะเอาชนะให้ได้โดยเด็ดขาด สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงทราบข่าวจึงยกทัพหลวงไปตั้งรับที่หนองสาหร่าย ซึ่งในการต่อสู้กันครั้งนั้น ระหว่างที่การรบกำลังติดพัน ช้างพระที่นั่งของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และพระเอกาทศรถก็พากันไล่ล่าศัตรูอย่างเมามัน จนพาทั้งสองพระองค์ตกไปอยู่ในวงล้อมของข้าศึกโดยไม่รู้ตัว มีเพียงจตุลังคบาท(ผู้รักษาเท้าทั้งสี่ของช้างทรง) และทหารรักษาพระองค์เท่านั้นที่ติดตามไปทัน แม้จะอยู่ในสภาวะเสียเปรียบ แต่พระองค์ก็มีพระสติมั่น ไม่หวั่นไหว ทรงมีพระปฏิภาณว่องไวเกิดขึ้นโดยพระอุปนิสัยว่า พระองค์จะรอดได้มีเพียงทางเดียวคือ เชิญพระมหาอุปราชาเสด็จมาทำยุทธหัตถี ซึ่งพระองค์ก็สามารถกระทำยุทธหัตถีจนได้ชัยชนะอย่างสมพระเกียรติ และนับแต่นั้นมาก็ไม่มีกองทัพใดกล้ายกมาตีกรุงศรีอยุธยาอีกเลย มีแต่ฝ่ายไทยยกไปปราบปรามข้าศึก และทำสงครามขยายอาณาเขตให้กว้างขวางขึ้นกว่าแต่ก่อน
สำหรับช้างพระที่นั่งของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชที่มีชัยแก่ข้าศึกในสงครามยุทธหัตถี แต่เดิมมีชื่อว่า “พลายภูเขาทอง” เมื่อขึ้นระวางได้เป็น “เจ้าพระยาไชยานุภาพ” และเมื่อมีชัยก็ได้รับพระราชทานชื่อว่า “เจ้าพระยาปราบหงสา” ส่วนพระแสงของ้าวที่ทรงฟันพระมหาอุปราชา มีชื่อว่า “เจ้าพระยาแสนพลพ่าย” และพระมาลาที่ถูกฟันขาดลงไป ตอนทรงเบี่ยงหลบ มีชื่อว่า “พระมาลาเบี่ยง”



สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงเชี่ยวชาญการรบยิ่ง ทรงฉลาดในการวางแผนยุทธวิธีและอุบายกระบวนศึกที่ไม่เหมือนผู้ใดในสมัยเดียวกัน ทรงเป็นผู้ริเริ่มการรบแบบกองโจร คือ ใช้คนน้อยแต่สามารถต่อสู้กับคนจำนวนมากได้ พระองค์มีความสามารถในการใช้อาวุธที่ทำการรบแทบทุกชนิดอย่างเชี่ยวชาญ ยากจะหาผู้ใดเสมอเหมือน อาวุธที่พระองค์ได้แสดงความสามารถให้ประจักษ์มาแล้ว ได้แก่

๑.ปืน เช่น เหตุการณ์ที่แม่น้ำสะโตง ที่ทรงยิงพระแสงปืนกระบอกหนึ่งยาว ๙ คืบถูกสุรกรรมา ผู้บังคับกองฯของพม่า
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
King Naresuan Sires was a warrior with his great talent. He was the first monarch to salvage the independence of Thailand. The Crusades, what he did with the great equipment Iuthheete King of Burma... It is celebrated today. In the event The worship ceremony Phan placing bush homage at the memorial of the Don King. And a ceremony commemorating Don. To honor King Naresuan on January 18 every year. To commemorate the benevolence of His Majesty the King Naresuan. Iuthheete hath prevailed against Raja Maha device known as the "Day of King Naresuan" and the army has been designated as Thailand. "Thailand Army Day", which falls on January 25 every year later, on 29 November 2548, the Cabinet approved the April 25 of every year as "the anniversary of the death of King. Naresuan the Great, "and a state ceremony. Instead, on Monday the 8th lunar month as the Lunar six. This will be laying wreaths and pay homage. But it is not a public holiday. And has set a new January 18 of every year as "A Day Iuthheete" and a state ceremony on the 25th of January every year. By the end Phan bush homage. But it is not a public holiday as well. The day that changed both of them. It also counts as the solar day. The current accustomed easily recognizable and more appropriate, and Mr. Prasert at the City Academy has already calculated that counting lunar day of action Iuthheete original match Monday of the month 2 RAM 2 Hulsakrach 954 is set. On January 25, the discrepancy has been changed to match the reality is that as of January 18, said the current January 18 to hold a "day Iuthheete" or "Day of King Naresuan" 3 Iuthheete. referring to the fight on the back of an elephant. The king ancient battle The man sitting on an elephant's back to three. Captains will hold a halberd on the elephant's neck. The middle seat is on the left, right, waving peacock coupe and holding a sign. And to send weapons to the army There may be Interchange seat at the battle. The elephant mahout who has settled. By elephantiasis four crew called the baht Turgc all people are carrying weapons such as guns, the dart would scythe like armor into a Pan Chang Iuthheete spears tied with red cloth book. Turn right-side out of the mouth of the cannon barrel. The left one cylinder There are officers and men wearing turbans armor. Elephants into battle wearing armor shoeing procedures or iron shoes for each tine. Both wore gray iron front Broughton has put both forks. Volvo armor and thousands Clary Art camp for a break without pain. The fight on the back of an elephant. Is the motto of the ancient battle that is the way of the warrior elite. It is a duel Tie with agility With expertise in driving the elephants. Gen. Lee did not live in any trickery or said in the Indian subcontinent (India, Pakistan, Nepal territory and Bangladesh today) is the ancient motto that. Iuthheete elephant or a balance of tactical fighters. It is a face to face battle Tie with fluency quests. With expertise in driving the elephants. Without relying maneuver battalions, or in any way because typically the military supreme opportunity for both parties to be closer to each other with very little elephant king shall Iuthheete wins, it will be considered. His highest honor And even the loser was celebrated as a true warrior. I do not blame This motto is the popularity of Thailand as well as for the Iuthheete of Thailand is the most important. In the days of King Naresuan had done Iuthheete winning Raja Maha equipment. The book chronicles the most important text in the history of Thailand said the war Iuthheete in the days of King Naresuan was born in 2135 when the Department of the Red God has given His Majesty the King raised a large army unit attacked. Ayudhya Hoping to win at all. King Naresuan heard of so many troops to get the algae ponds. In the skirmish that time. During the battle was courted Chang throne of King Naresuan. And the Ekathosarot went frantically chase the enemy. He took both him into the circle of the enemy unawares. Only Htulagcbat (four feet of the elephant keeper) and guard, only to follow up. Despite the disadvantageous But he has not shaken the consciousness it made ​​a nimble uninspired by the character that happens. It is the only way to survive. Raja Maha invites patrons come Iuthheete. Which he was able to win the Iuthheete honor. And since then no one dares army troops attacked Ayutthaya again. But Thailand has raised to suppress the enemy. And the war expanded wider than before for elephant throne of King Naresuan the victory to the enemy in the war Iuthheete. Originally named "Elephant Mountain" when it was enrolled. "XVI Chaiyanuchit" and when victory was King called. "Buster XVI Hongsa" the sword, scythe, which struck Maha Raja device named "Chao Phraya a rower" Corona and his teeth were broken into. Now he turns away, entitled "The bypass mode" King Naresuan. A monarch who had more combat experience. His wise and tactical planning process intrigue war unlike any in the same fashion. He was an innovator, the guerrillas are using less able to fight off so many people. He has the ability to use weapons, the battle almost every expert. Hard to find anyone like you. The weapon he has shown the ability to manifest it include events such as the town's gun 1. d. He takes a sword, a gun was Sura 9-SPAN's activities. The force of the Myanmar























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Naresuan. He was a professional king warrior with his talents. He was the first monarch restoring independence to Thailand. Especially one that he did a war elephant with neurogenic arterial diseases of Myanmar.The proverbial until present. The activities, a ritual sacrifice. The tray Bush worship the rappel, don chedi A celebration and memorial, don chediOn 18 January. As a memorial to the benevolence of God
.


.The Naresuan. He did win a war elephant on neurogenic arterial diseases, called "the Naresuan." The army has designated as "Thai Army Day", which falls on 25 January ของทุกปี.29 NovemberProf.18-21, cabinet approved to date 25 April of each year as "the anniversary of the death of King Naresuan Maharaja" and a state ceremony. Instead of up to 8 Monday night the moon 6 as the lunar count.But is not a public holiday, and new specifications, on 18 January of each year as "the embrace the age iuthheete" and a state ceremony instead of 25 to 30 days. January every year by the tray Bush worship. But is not a public holiday as well.Is that a solar day, which were used to remember simple and reasonable than the Mr. at city academy.Month 2 Hotel. 2 night coup d 9 5 4 prescribed day 25 January. Error has changed to match the reality. Is the day 18 January them. So currently on 18 January is considered.Or "the Naresuan"
.3


.A war elephant refers to armed struggle on the elephant. As the battle as king ancient times. By on the elephant is sitting three. The general will hold the listener at throat elephant. People will be on the Kop seating and peacock backing left and right waving a signal.There may be commutative seat to do battle. At the end of the elephant keeper will have seats. According to the four elephantiasis are infantry regular called four-legged parts per person all hold weapons such as guns at the end of the request, javelin scythe, armor, Robin, pan.The cannon facing mouth right beside one cylinder. The left one is military officers and soldiers wear cloth armor, Headbands The elephant into the army to wear armor in process shoes or shoes steel for obstacleAnd with the armor Wo thousand trunk. For the broken tower camp without pain. The fight with weapons on the elephant. Is the motto since ancient times, that was a great battle, the way of the warrior Because of a duel. With his win or loseDo not rely on Li people or trickery. Said in jambudvipa (land that is India, Pakistan, Nepal and Bangladesh at present). A bias, but the fossils. Dependants or elephant duel was the best tactics of warriors.Win or lose, with his mighty To be expert in driving the elephant crashed. Without relying on battalions or trickery. Because usually, in the war the army commander both sides will close to meander together are very few.The king did win any war elephant is regarded with the greatest honour And even the losers received praise as a real warrior not blame each other. The principle that a Thai popular too
.


.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: