ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ทศพร วงศ์รัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านอนุกรมวิธานป การแปล - ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ทศพร วงศ์รัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านอนุกรมวิธานป ญี่ปุ่น วิธีการพูด

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ทศพร วงศ์รัต

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ทศพร วงศ์รัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านอนุกรมวิธานปลา จบการศึกษาจากคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และปริญญาโทจากประเทศเยอรมนี ได้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดลไปศึกษาต่อจนจบปริญญาเอกในเชิงอนุกรมวิธานปลาจากมหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ ได้รับราชการเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2524 และต่อมาในปี พ.ศ. 2526 เป็น Postdoctoral Fellow ทำหน้าที่สอนวิชามีนวิทยาและหลักอนุกรมวิธานสัตว์ที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติออสเตรเลีย เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย และที่ สถาบันสมิธโซเนียน กรุงวอชิงตัน ดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา
ศ.ดร.ทศพร มีงานเขียนที่ได้ตีพิมพ์เป็นหนังสือ ตำรา และงานค้นคว้าวิจัยอย่างต่อเนื่องรวมกว่า 40 เรื่อง งานประเภทสารคดี สิ่งแวดล้อมและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกว่า 100 เรื่อง และยังมีผลงานเป็นภาพวาดปลาเพื่อใช้ประกอบงานวิจัยกว่า 300 ภาพ ซึ่งภาพวาดดังกล่าวได้รับการเผยแพร่อ้างอิงไปทั่วโลก เป็นผู้ค้นพบและได้ตีพิมพ์เผยแพร่ชื่อวิทยาศาสตร์ที่ตั้งขึ้นเองสำหรับปลาชนิดใหม่จากหลายน่านน้ำของโลกรวม 38 ชนิด และชื่อของท่านยังได้รับการตั้งเป็นชื่อวิทยาศาสตร์ของปลาอีกหลายชนิด
ศ.ดร.ทศพร เป็นผู้ริเริ่มและก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ปลาทะเลขึ้นในกรมประมง และพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานชิ้นสำคัญที่สุด คือ งานความหลากหลายทางธรรมชาติวิทยาเกี่ยวกับปลาหลังเขียว - ปลาแมวและปลากะตักที่ปรากฏอยู่ในงานชุด "FAO Species Identification Guide for Fisheries Purposes" เรื่อง "The Living Marine Resources of the Western Central Pacific" Vol.3 หน้า 1698 – 1821 ซึ่งจัดพิมพ์โดยองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ กรุงโรม ในปี พ.ศ. 2542 นอกจากนี้ ศ. ดร. ทศพร วงศ์รัตน์ ยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งให้เป็นราชบัณฑิต สาขาวิชาสัตววิทยา ประเภทวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สำนักวิทยาศาสตร์ราชบัณฑิตยสถาน ในปี พ.ศ. 2532 เป็นศาสตราจารย์ในสาขาสัตววิทยา ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2535 และได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยที่ได้รับ พระราชทานขั้นสูงสุด คือ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือกและมหาวชิรมงกุฏ รวมทั้งได้รับการประกาศเกียรติคุณจาก สภาวิจัยแห่งชาติให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา ประจำปี พ.ศ. 2537 และเป็นผู้อำนวยการพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ต่อมาในพ.ศ. 2543 สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์แห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี ประกาศให้ ศ.ดร.ทศพร วงศ์รัตน์ เป็นบุคคลดีเด่นของชาติ สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (ด้านชีววิทยา) และในพ.ศ 2546 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เหรียญจตุตถดิเรกคุณาภรณ์ชั้น 4 ในฐานะผู้กระทำความดี ความชอบ อันเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ และประชาชน อีกทั้งได้รับการบันทึกชื่อ และประวัติ ติดตั้งในหอเกียรติยศ ตึกมหามงกุฏ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นอกเหนือจากผลงานการค้นคว้าวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ จนมีผลงานเขียนตีพิมพ์อย่างต่อเนื่องแล้ว ศ.ดร.ทศพร ได้หันมาศึกษาค้นคว้าและสนใจทางด้านวรรณคดีไทย โดยเฉพาะวรรณกรรมเรื่องพระอภัยมณีของสุนทรภู่ และได้เขียนหนังสือเรื่อง "พระอภัยมณี มาจากไหน..." (ตีพิมพ์โดย สำนักพิมพ์คอมฟอร์ม, 2550 : 296 หน้า) เพื่อแสดงความคิดเห็นและเสนอประเด็นต่าง ๆ เช่นเค้าของเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ และพงศาวดารไทย ตลอดจนเรื่องในสมุดภาพไตรภูมิ อันอาจจะเป็นที่มาในการเขียนเรื่องพระอภัยมณีของสุนทรภู่ นอกเหนือจากจินตนาการ
ผลงานเล่มต่อมาจากการค้นคว้าทางด้านวรรณคดีไทย คือ "ลายแทงของสุนทรภู่" (ตีพิมพ์โดย สำนักพิมพ์วันทูปริ้นท์, 2552:288 หน้า) ที่เป็นการนำเสนอข้อมูลในนิราศเมืองเพชรที่มีหลายตอนที่สอดคล้องหรือตรงกับในพระอภัยมณีคำกลอน
ปัจจุบัน ศ.ดร.ทศพร วงศ์รัตน์ เกษียณอายุราชการแล้ว และยังดำรงตำแหน่ง ประธานกรรมการจัดทำอนุกรมวิธานสัตว์ ราชบัณฑิตยสถาน ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 จนถึงปัจจุบัน และประธานกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์สัตววิทยา ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2551- ปัจจุบัน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ญี่ปุ่น) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
名誉教授博士 Thotphon Wongrat は専門魚分類です。水産学部を卒業、カセサート大学とドイツから修士の学位与えられた奨学金現代分類学、ロンドン大学から魚博士の学位の終わりまでラーマ 8 世の基礎を勉強します。イギリスタイ王国バンコクのチュラロン コーン大学理学部生物学科講師として公式を得る。2524 (1981 年) 以降ではときに、博士研究員法 2526 (1983 年) 魚類学、オーストラリア国立博物館で動物分類学を教えます。オーストラリアのシドニーと、thaso に適したスミス研究所国。ワシントン DC の国アメリカ合衆国ศ.ดร.ทศพร มีงานเขียนที่ได้ตีพิมพ์เป็นหนังสือ ตำรา และงานค้นคว้าวิจัยอย่างต่อเนื่องรวมกว่า 40 เรื่อง งานประเภทสารคดี สิ่งแวดล้อมและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกว่า 100 เรื่อง และยังมีผลงานเป็นภาพวาดปลาเพื่อใช้ประกอบงานวิจัยกว่า 300 ภาพ ซึ่งภาพวาดดังกล่าวได้รับการเผยแพร่อ้างอิงไปทั่วโลก เป็นผู้ค้นพบและได้ตีพิมพ์เผยแพร่ชื่อวิทยาศาสตร์ที่ตั้งขึ้นเองสำหรับปลาชนิดใหม่จากหลายน่านน้ำของโลกรวม 38 ชนิด และชื่อของท่านยังได้รับการตั้งเป็นชื่อวิทยาศาสตร์ของปลาอีกหลายชนิดศ.ดร.ทศพร เป็นผู้ริเริ่มและก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ปลาทะเลขึ้นในกรมประมง และพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานชิ้นสำคัญที่สุด คือ งานความหลากหลายทางธรรมชาติวิทยาเกี่ยวกับปลาหลังเขียว - ปลาแมวและปลากะตักที่ปรากฏอยู่ในงานชุด "FAO Species Identification Guide for Fisheries Purposes" เรื่อง "The Living Marine Resources of the Western Central Pacific" Vol.3 หน้า 1698 – 1821 ซึ่งจัดพิมพ์โดยองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ กรุงโรม ในปี พ.ศ. 2542 นอกจากนี้ ศ. ดร. ทศพร วงศ์รัตน์ ยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งให้เป็นราชบัณฑิต สาขาวิชาสัตววิทยา ประเภทวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สำนักวิทยาศาสตร์ราชบัณฑิตยสถาน ในปี พ.ศ. 2532 เป็นศาสตราจารย์ในสาขาสัตววิทยา ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2535 และได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยที่ได้รับ พระราชทานขั้นสูงสุด คือ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือกและมหาวชิรมงกุฏ รวมทั้งได้รับการประกาศเกียรติคุณจาก สภาวิจัยแห่งชาติให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา ประจำปี พ.ศ. 2537 และเป็นผู้อำนวยการพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยต่อมาในพ.ศ. 2543 สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์แห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี ประกาศให้ ศ.ดร.ทศพร วงศ์รัตน์ เป็นบุคคลดีเด่นของชาติ สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (ด้านชีววิทยา) และในพ.ศ 2546 ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เหรียญจตุตถดิเรกคุณาภรณ์ชั้น 4 ในฐานะผู้กระทำความดี ความชอบ อันเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ และประชาชน อีกทั้งได้รับการบันทึกชื่อ และประวัติ ติดตั้งในหอเกียรติยศ ตึกมหามงกุฏ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนอกเหนือจากผลงานการค้นคว้าวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ จนมีผลงานเขียนตีพิมพ์อย่างต่อเนื่องแล้ว ศ.ดร.ทศพร ได้หันมาศึกษาค้นคว้าและสนใจทางด้านวรรณคดีไทย โดยเฉพาะวรรณกรรมเรื่องพระอภัยมณีของสุนทรภู่ และได้เขียนหนังสือเรื่อง "พระอภัยมณี มาจากไหน..." (ตีพิมพ์โดย สำนักพิมพ์คอมฟอร์ม, 2550 : 296 หน้า) เพื่อแสดงความคิดเห็นและเสนอประเด็นต่าง ๆ เช่นเค้าของเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ และพงศาวดารไทย ตลอดจนเรื่องในสมุดภาพไตรภูมิ อันอาจจะเป็นที่มาในการเขียนเรื่องพระอภัยมณีของสุนทรภู่ นอกเหนือจากจินตนาการผลงานเล่มต่อมาจากการค้นคว้าทางด้านวรรณคดีไทย คือ "ลายแทงของสุนทรภู่" (ตีพิมพ์โดย สำนักพิมพ์วันทูปริ้นท์, 2552:288 หน้า) ที่เป็นการนำเสนอข้อมูลในนิราศเมืองเพชรที่มีหลายตอนที่สอดคล้องหรือตรงกับในพระอภัยมณีคำกลอน
ปัจจุบัน ศ.ดร.ทศพร วงศ์รัตน์ เกษียณอายุราชการแล้ว และยังดำรงตำแหน่ง ประธานกรรมการจัดทำอนุกรมวิธานสัตว์ ราชบัณฑิตยสถาน ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 จนถึงปัจจุบัน และประธานกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์สัตววิทยา ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2551- ปัจจุบัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ญี่ปุ่น) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ブキャナン教授は、することができます。分類の仏の専門家の地理的位置、漁船カセサート大学とドイツからの大学院の学位から魚イギリスの科学の講師生物学部門教員、チュラロンコン大学としてご用意しております。1981 年、 1 年間に土木工学科卒業後、
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: