เราต้องยอมรับว่าประเทศไทยยังคงประสบปัญหาการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ การแปล - เราต้องยอมรับว่าประเทศไทยยังคงประสบปัญหาการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ อังกฤษ วิธีการพูด

เราต้องยอมรับว่าประเทศไทยยังคงประสบ

เราต้องยอมรับว่าประเทศไทยยังคงประสบปัญหาการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของเด็กและเยาวชนมาโดยตลอด โดยมีปัจจัยสำคัญที่แตกต่างหลากหลายตามบริบทและยุคสมัย มีปัญหาตั้งแต่ระดับนโยบายลงไปจนถึงวิธีการปฏิบัติ ซึ่งล้วนแต่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพการศึกษาของชาติโดยรวมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ คุณภาพการศึกษาในสถานศึกษาขนาดเล็กมักเป็นปัญหาที่ถูกหยิบยกมาเป็นประเด็นและถูกพาดพิงถึงเสมอ ต่างคนต่างมองบนพื้นฐานของความแตกต่างย่อมมีความเห็นที่หลากหลาย บ้างก็เสนอให้มีการยุบโรงเรียนขนาดเล็กเพียงเพราะเห็นว่าเป็นการลงทุนที่ไม่คุ้มค่า บ้างก็ต่อต้านกระแสการยุบรวมพร้อมสะท้อนให้เห็นหลักคำว่า “บวร” คือ บ้าน วัด และ โรงเรียน นั้น เป็นความต้องการของชุมชนที่จำเป็นต้องยืนหยัดเคียงคู่กัน และโรงเรียนบางแห่งไม่อาจยุบรวมได้เนื่องด้วยเหตุที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร หรือเสี่ยงภัย เป็นต้น บนพื้นฐานของความขาดแคลนของโรงเรียนขนาดเล็กทั้งด้านงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน ขาดแคลนครูทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ อีกทั้งส่วนใหญ่อยู่ในชนบทห่างไกลจึงขาดการสนับสนุนจากชุมชน เหล่านี้เป็นต้นเหตุให้คุณภาพการศึกษาและมาตรฐานของผู้เรียนต่ำกว่าโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่อย่างชัดเจน หน่วยงานหลักที่มักเป็นจำเลยของสังคมอยู่ร่ำไปคือ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) แม้ได้พยายามศึกษาหารูปแบบการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ของโรงเรียนขนาดเล็กมาโดยตลอด อย่างไรก็ตามสถานศึกษาแต่ละแห่งต้องเลือกรูปแบบและวิธีการที่เหมาะสมและนำไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบการสอนแบบคละชั้น การสอนแบบบูรณาการ การยุบรวมทั้งโรงเรียน การจัดครูเวียนสอนระหว่างโรงเรียนในสาระที่ขาดแคลน และการรวมกันเป็นศูนย์เครือข่ายประมาณ 3-5 โรงเรียนก็ตาม คณะกรรมาธิการการศึกษา วุฒิสภา ให้ความสำคัญกับสภาพปัญหาที่สถานศึกษาขนาดเล็กกำลังฝ่าวิกฤติ จึงมีมติให้คณะอนุกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ลงพื้นที่เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารจัดการของสถานศึกษาขนาดเล็กที่สามารถบริหารจัดการการศึกษาบนพื้นฐานของความขาดแคลนจนประสบความสำเร็จ สามารถเป็นต้นแบบให้กับสถานศึกษาอื่น ๆ ได้เป็นอย่างดี จากการบอกเล่าของ ดร.สุเทพ บุญเติม ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 และ ดร.สมาน นาวาสิทธิ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหาดคัมภีร์ ในฐานะประธานเครือข่ายแก่งจันทร์ ทำให้ทราบที่มาและวิธีการบริหารจัดการของแก่งจันทร์โมเดลที่เลือกใช้รูปแบบการรวมกันเป็นศูนย์เครือข่ายเพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนงบประมาณ ครูไม่ครบชั้น ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาซึ่งเป็นปัญหาวิกฤติ โดยการรวมกันจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็กใกล้เคียงกัน 4 แห่ง ในพื้นที่ตำบลหาดคัมภีร์เข้าด้วยกัน ประกอบด้วย โรงเรียนบ้านนาโม้ มีนักเรียน 73 คน โรงเรียนบ้านปากมั่งห้วยทับช้าง มีนักเรียน 70 คน โรงเรียนบ้านหาดคัมภีร์ มีนักเรียน 84 คน และโรงเรียนบ้านคกเว้า มีนักเรียน 26 คน เมื่อรวมกันแล้วทำให้มีนักเรียนรวมกันทั้งสิ้น 253 คน ครูและผู้บริหารรวม 16 คน แต่ละโรงเรียนห่างกันประมาณ 3-5 ก.ม. รูปแบบการบริหารจัดการแบบเดิมนั้นโรงเรียนทั้ง 4 แห่ง ต้องจัดการเรียนการสอน 8 ชั้นเรียน คือ ตั้งแต่ระดับอนุบาลชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และสิ่งสำคัญคือ แต่ละโรงเรียนต้องประสบกับปัญหาจำนวนนักเรียนลดลงทุกปี และจำนวนครูผู้สอนก็ไม่เพียงพอ แต่เมื่อรวมกันแล้วก็ได้นักเรียน 253 คนเท่าเดิม แต่ลดจาก 32 ชั้นเรียน เหลือแค่ 8 ชั้นเรียน ต่อครูผู้สอน 16 คน เท่ากับครู 2 คนต่อ 1 ชั้นเรียน รวมกับผู้บริหารอีก 4 คน โดยแบ่งความรับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนละ 2 ชั้นเรียน ส่งผลให้จำนวนนักเรียนต่อชั้นสูงขึ้นและมีครูเพียงพอทุกชั้นเรียน ซึ่งถือว่าเป็นรูปแบบการบริหารจัดการร่วมกันที่สามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนครูได้อย่างชัดเจน “คณะกรรมาธิการการศึกษา วุฒิสภาได้รับทราบสภาพปัญหาในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาขนาดเล็กมาโดยตลอด คณะอนุกรรมาธิการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้ลงพื้นที่เพื่อศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนใน “เครือข่ายแก่งจันทร์” ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 ที่ใช้วิธีการนำโรงเรียนขนาดเล็ก 4 แห่งที่อยู่ใกล้เคียงมารวมเป็นเครือข่าย แล้วร่วมกันจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานแบบรวมชั้นเรียนทุกชั้น ตั้งแต่ระดับอนุบาลปีที่ 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6 โดยแบ่งหน้าที่ในการบริหารจัดการและรับผิดชอบโรงเรียนละ 2 ชั้นเรียน มีการจัดรถรับ-ส่งนักเรียน ทำให้โรงเรียนขนาดเล็กที่เคยมีปัญหาสารพัด สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพมากขึ้น นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข ชุมชนเกิดความพึงพอใจที่บุตรหลานมีผลการเรียนดีขึ้น ถือเป็นการบริหารจัดการที่สามารถขจัดปัญหาบนพื้นฐานของความขาดแคลนทั้งในเรื่องงบประมาณ วัสดุ ครุภัณฑ์ ปัญหาครูไม่ครบชั้นไปได้หมด ซึ่งผมเห็นว่า “แก่งจันทร์โมเดล” เป็นรูปแบบการบริหารจัดการเพื่อแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กที่มีความโดดเด่นที่สุดเท่าที่เห็นมา” เป็นคำกล่าวบางตอนของ นายชัยภัทร เศรษฐยุกานนท์ ประธานคณะอนุกรรมาธิการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วุฒิสภา การขับเคลื่อนนำพาพัฒนาสถานศึกษาขนาดเล็กทั่วประเทศไปสู่ความสำเร็จนั้นอาจจะไม่มีสูตรที่ตายตัว แต่ปัจจัยสำคัญยิ่งที่จะนำไปสู่ความสำเร็จได้ นั่นคือ ความร่วมมือ รวมแรง ร่วมใจจากหน่วยงานท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ผู้ปกครอง และทุกคนในสถานศึกษา ณ วันนี้ “แก่งจันทร์โมเดล” เป็นหนึ่งคำตอบแห่งความสำเร็จที่เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจนของการบริหารจัดการศึกษาบนภาวะวิกฤติของความขาดแคลน หากแต่สถานศึกษาใดจะนำไปเป็นต้นแบบอาจต้องประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับบริบทและสภาพแวดล้อมที่แตกต่าง“


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เราต้องยอมรับว่าประเทศไทยยังคงประสบปัญหาการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของเด็กและเยาวชนมาโดยตลอด โดยมีปัจจัยสำคัญที่แตกต่างหลากหลายตามบริบทและยุคสมัย มีปัญหาตั้งแต่ระดับนโยบายลงไปจนถึงวิธีการปฏิบัติ ซึ่งล้วนแต่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพการศึกษาของชาติโดยรวมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ คุณภาพการศึกษาในสถานศึกษาขนาดเล็กมักเป็นปัญหาที่ถูกหยิบยกมาเป็นประเด็นและถูกพาดพิงถึงเสมอ ต่างคนต่างมองบนพื้นฐานของความแตกต่างย่อมมีความเห็นที่หลากหลาย บ้างก็เสนอให้มีการยุบโรงเรียนขนาดเล็กเพียงเพราะเห็นว่าเป็นการลงทุนที่ไม่คุ้มค่า บ้างก็ต่อต้านกระแสการยุบรวมพร้อมสะท้อนให้เห็นหลักคำว่า “บวร” คือ บ้าน วัด และ โรงเรียน นั้น เป็นความต้องการของชุมชนที่จำเป็นต้องยืนหยัดเคียงคู่กัน และโรงเรียนบางแห่งไม่อาจยุบรวมได้เนื่องด้วยเหตุที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร หรือเสี่ยงภัย เป็นต้น บนพื้นฐานของความขาดแคลนของโรงเรียนขนาดเล็กทั้งด้านงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน ขาดแคลนครูทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ อีกทั้งส่วนใหญ่อยู่ในชนบทห่างไกลจึงขาดการสนับสนุนจากชุมชน เหล่านี้เป็นต้นเหตุให้คุณภาพการศึกษาและมาตรฐานของผู้เรียนต่ำกว่าโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่อย่างชัดเจน หน่วยงานหลักที่มักเป็นจำเลยของสังคมอยู่ร่ำไปคือ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) แม้ได้พยายามศึกษาหารูปแบบการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ของโรงเรียนขนาดเล็กมาโดยตลอด อย่างไรก็ตามสถานศึกษาแต่ละแห่งต้องเลือกรูปแบบและวิธีการที่เหมาะสมและนำไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบการสอนแบบคละชั้น การสอนแบบบูรณาการ การยุบรวมทั้งโรงเรียน การจัดครูเวียนสอนระหว่างโรงเรียนในสาระที่ขาดแคลน และการรวมกันเป็นศูนย์เครือข่ายประมาณ 3-5 โรงเรียนก็ตาม คณะกรรมาธิการการศึกษา วุฒิสภา ให้ความสำคัญกับสภาพปัญหาที่สถานศึกษาขนาดเล็กกำลังฝ่าวิกฤติ จึงมีมติให้คณะอนุกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ลงพื้นที่เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารจัดการของสถานศึกษาขนาดเล็กที่สามารถบริหารจัดการการศึกษาบนพื้นฐานของความขาดแคลนจนประสบความสำเร็จ สามารถเป็นต้นแบบให้กับสถานศึกษาอื่น ๆ ได้เป็นอย่างดี จากการบอกเล่าของ ดร.สุเทพ บุญเติม ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 และ ดร.สมาน นาวาสิทธิ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหาดคัมภีร์ ในฐานะประธานเครือข่ายแก่งจันทร์ ทำให้ทราบที่มาและวิธีการบริหารจัดการของแก่งจันทร์โมเดลที่เลือกใช้รูปแบบการรวมกันเป็นศูนย์เครือข่ายเพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนงบประมาณ ครูไม่ครบชั้น ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาซึ่งเป็นปัญหาวิกฤติ โดยการรวมกันจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็กใกล้เคียงกัน 4 แห่ง ในพื้นที่ตำบลหาดคัมภีร์เข้าด้วยกัน ประกอบด้วย โรงเรียนบ้านนาโม้ มีนักเรียน 73 คน โรงเรียนบ้านปากมั่งห้วยทับช้าง มีนักเรียน 70 คน โรงเรียนบ้านหาดคัมภีร์ มีนักเรียน 84 คน และโรงเรียนบ้านคกเว้า มีนักเรียน 26 คน เมื่อรวมกันแล้วทำให้มีนักเรียนรวมกันทั้งสิ้น 253 คน ครูและผู้บริหารรวม 16 คน แต่ละโรงเรียนห่างกันประมาณ 3-5 ก.ม. รูปแบบการบริหารจัดการแบบเดิมนั้นโรงเรียนทั้ง 4 แห่ง ต้องจัดการเรียนการสอน 8 ชั้นเรียน คือ ตั้งแต่ระดับอนุบาลชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และสิ่งสำคัญคือ แต่ละโรงเรียนต้องประสบกับปัญหาจำนวนนักเรียนลดลงทุกปี และจำนวนครูผู้สอนก็ไม่เพียงพอ แต่เมื่อรวมกันแล้วก็ได้นักเรียน 253 คนเท่าเดิม แต่ลดจาก 32 ชั้นเรียน เหลือแค่ 8 ชั้นเรียน ต่อครูผู้สอน 16 คน เท่ากับครู 2 คนต่อ 1 ชั้นเรียน รวมกับผู้บริหารอีก 4 คน โดยแบ่งความรับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนละ 2 ชั้นเรียน ส่งผลให้จำนวนนักเรียนต่อชั้นสูงขึ้นและมีครูเพียงพอทุกชั้นเรียน ซึ่งถือว่าเป็นรูปแบบการบริหารจัดการร่วมกันที่สามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนครูได้อย่างชัดเจน “คณะกรรมาธิการการศึกษา วุฒิสภาได้รับทราบสภาพปัญหาในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาขนาดเล็กมาโดยตลอด คณะอนุกรรมาธิการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้ลงพื้นที่เพื่อศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนใน “เครือข่ายแก่งจันทร์” ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 ที่ใช้วิธีการนำโรงเรียนขนาดเล็ก 4 แห่งที่อยู่ใกล้เคียงมารวมเป็นเครือข่าย แล้วร่วมกันจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานแบบรวมชั้นเรียนทุกชั้น ตั้งแต่ระดับอนุบาลปีที่ 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6 โดยแบ่งหน้าที่ในการบริหารจัดการและรับผิดชอบโรงเรียนละ 2 ชั้นเรียน มีการจัดรถรับ-ส่งนักเรียน ทำให้โรงเรียนขนาดเล็กที่เคยมีปัญหาสารพัด สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพมากขึ้น นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข ชุมชนเกิดความพึงพอใจที่บุตรหลานมีผลการเรียนดีขึ้น ถือเป็นการบริหารจัดการที่สามารถขจัดปัญหาบนพื้นฐานของความขาดแคลนทั้งในเรื่องงบประมาณ วัสดุ ครุภัณฑ์ ปัญหาครูไม่ครบชั้นไปได้หมด ซึ่งผมเห็นว่า “แก่งจันทร์โมเดล” เป็นรูปแบบการบริหารจัดการเพื่อแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กที่มีความโดดเด่นที่สุดเท่าที่เห็นมา” เป็นคำกล่าวบางตอนของ นายชัยภัทร เศรษฐยุกานนท์ ประธานคณะอนุกรรมาธิการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วุฒิสภา การขับเคลื่อนนำพาพัฒนาสถานศึกษาขนาดเล็กทั่วประเทศไปสู่ความสำเร็จนั้นอาจจะไม่มีสูตรที่ตายตัว แต่ปัจจัยสำคัญยิ่งที่จะนำไปสู่ความสำเร็จได้ นั่นคือ ความร่วมมือ รวมแรง ร่วมใจจากหน่วยงานท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ผู้ปกครอง และทุกคนในสถานศึกษา ณ วันนี้ “แก่งจันทร์โมเดล” เป็นหนึ่งคำตอบแห่งความสำเร็จที่เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจนของการบริหารจัดการศึกษาบนภาวะวิกฤติของความขาดแคลน หากแต่สถานศึกษาใดจะนำไปเป็นต้นแบบอาจต้องประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับบริบทและสภาพแวดล้อมที่แตกต่าง“
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
We must accept that the country still faces the problem of improving the quality of education for children and youth throughout. The key factors that vary according to context and era. From a policy level down to their practices. These are but affect the quality of education overall is unavoidable. The quality of education in schools is a problem that is often put forward as an issue and always has been alluded to. Each person on the basis of a difference there is diverse opinion. It was proposed to be abolished small school just because that is not worth the investment. Some oppose the total collapse and reflects the word "glorious" is a home school and it is the need of the community need to stand side by side. Some schools collapsed and could not be included because of the location in remote areas or areas at risk of poverty are based on the budget of a small school supplies, teaching materials. Teacher shortage of both quantity and quality. They are mostly in remote areas, so the lack of support from the community. These cause the quality of education and the standard of the students under the school midsized and large, clearly. The main unit is often accused of living generally is. Office of the Basic Education Commission (OBEC). I have tried to find ways to improve learning and raise achievement for a small school in the past. However, each school must choose the form and appropriate method and applied in accordance with the context of each area. Whether it is a form of teaching mixed classes. Teaching Integrated The school collapse The teachers circulated among schools teach the subject are scarce. And the combination is a network of schools it 3-5. The Senate Committee on Education to focus on problems at school are small crisis. The Joint Subcommittee on Basic Education into space to study the management of a small study that can be managed on the basis of the lack of success. Can be a model for other schools as well. The story of Dr. Suthep Boonterm Director of Primary Education Service Area Office, Area 1 and yet Dr. Saman Navarre Beach right at home Bible school. As president, Network rapids Monday. Keeping in mind the source and method of administration of rapids Monday for model selection using a combination of zero network to solve the budget shortfall. Missing teacher class Which is a major obstacle to the development of quality education, which is a critical problem. The combined study of small schools close four of the district Beach Bible together comprise school farmhouse boasting a student 73 School Pak Mang Huai Thap Chang has 70 students boarding houses Beach Bible students 84 people. and the school's 26 students are concave on together, making a total of 253 students, teachers and administrators, including 16 schools, each about 3-5 km away form the traditional management of the school. all four of the required teaching eight classes, from kindergarten to first grade to sixth grade, and it's important. Each school must face the problem of students dropping every year. And the number of teachers was not enough. But the total time students, 253 were unchanged but reduced from 32 classes, only eight classes per teacher, 16 people were teachers, two people per one class to another executive four people share the responsibility of management. teaching two classes at the school, resulting in a higher number of students per class, and there are enough teachers for all classes. This is a form of joint management to resolve the shortage of teachers clearly. "Study Commission The Senate has acknowledged the problems in the management of educational institutions, small throughout. Subcommittee on Basic Education has a space to study and exchange knowledge with those involved in the management of schools. "Network rapids Monday" areas of primary education but the one that means the introduction of four small schools nearby as well as a network. Then share of basic education include every class. From Kindergarten 1 to Grade 6 by dividing duties and responsibilities in the management of two school classes are held - Transfer students. Make a small school had a problem whatsoever. Teaching can be a much higher quality. Students learn happily. Community satisfaction that children with better academic performance. An administration that can eliminate the problem on the basis of material and equipment shortages in budget class, teachers can not go out. I feel "Gang Model Monday" as a form of management solutions for small schools that are characterized as seen, "said some of Mr. Brian Yoon Economics check bliss. Chairman of the Senate Subcommittee on Basic Education to improve education by founding a nationwide success, it may be no fixed formula. But the key factor that will lead to success is the collaborative efforts of local authorities, community leaders, parents and everyone in school today, "Curry Monday Model" is one answer to success is. substantial chunks of the management of the crisis of scarcity. But the school will be a model could be applied in accordance with the context and circumstances are different. "


การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
We have to admit that Thailand is still experiencing educational management to improve the quality of children and young ชนมา throughout. The important factors vary according to context and era. Have a problem from policy level down to the operating procedures. Which all affect the quality of national education overall inevitably. The quality of education in small schools are often the problems are put forward as issues and was พาดพิงถึงเสมอ. They look on the basis of the difference has a wide range of opinion Some offer collapse small school just because that is an investment that is not worthwhile. Some oppose the current merger with reflected หลักคำ. "Glorious" is a house, temples and schools, it is the need of the community need to stand together. Some schools may not the merger because it is located in a remote area. Because the wilderness or risk, etc. on the basis of the scarcity of small schools both in the budget. Materials, equipment, materials, shortage of teachers, both in quantity and quality. The mostly in rural areas and lack of support from the community. These caused the education quality and standard of students than at medium and large chunks. The main agencies is often accused of social feelings. Office of the Education Council.) even tried to study the model of quality of learners and improve the achievement of a small school. However, each of the schools to choose a model, and the right way and applied in accordance with the context of each area. Whether the teaching model mixed layer integrated teaching to collapse as well as the school. The teacher taught school in circulation between substance shortage. And the combination of network center around 3-5 school. Education Commission. The Senate to focus on problems that small schools are from crisis. Decided to have the Basic Education Subcommittee to study the administration.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: