วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับยุทธศาสตร์ประเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นฐ การแปล - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับยุทธศาสตร์ประเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นฐ อังกฤษ วิธีการพูด

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับยุทธศาสตร

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับยุทธศาสตร์ประเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศซึ่งมีความสำคัญอย่างมาก และที่ผ่านมาการดำเนินงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นรูปแบบลักษณะดำเนินงานตามกลุ่มเทคโนโลยี จึงทำให้บทบาทของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ไทยไม่โดดเด่น รัฐบาลภายใต้การนำของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี กำหนดนโยบายให้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นหน่วยงานหลักในการผลักดันให้งบประมาณด้านการวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศเพิ่มเป็น 1% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ หรือGross Domestic Product(GDP) หรือประมาณ 1.2 แสนล้านบาท เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) ให้เติบโตและก้าวหน้าขึ้น จากผลงานวิจัยและพัฒนาที่สามารถนำวิทยาศาสตร์ฯ มาต่อยอดเพื่อช่วยผู้ประกอบการให้แข่งขันกับต่างประเทศได้ รวมทั้งภาคเกษตรกร สามารถนำผลงานวิจัยไปใช้ในการเพิ่มผลผลิตลดการใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมีทางการเกษตร และภาคธุรกิจอุตสาหกรรมยังสามารถนำผลงานวิจัยด้านเทคโนโลยีไปทดแทนการนำเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศได้อีกด้วย
“กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จะเร่งผลักดันแผนงานทั้ง 47 แผนงาน เพื่อให้เกิดการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน สามารถแข่งขัน และพร้อมรับมือกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือASEAN Economics Community(AEC) ใน ค.ศ. 2015 หรือ พ.ศ. 2558 หรือในอีก 2 ปีข้างหน้า โดยการผลักดันให้ประเทศไทยเป็นผู้นำทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้อย่างแท้จริง”
เพื่อให้งานทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมไปผสมผสานกับงานด้านเศรษฐกิจทั้งหมด นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ให้นโยบายและแนวทางการดำเนินงานว่าจะดำเนินการในลักษณะ Project – based โดยในหนึ่งแผนงานจะต้องมีทุกกระทรวง ทุกหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนเข้ามาร่วมในการขับเคลื่อน ซึ่งกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นเจ้าภาพหลักในการบูรณาการร่วมกันระหว่างทุกกระทรวง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และยังได้สร้างกลไกให้มีผู้แทนของแต่ละแผนงานมาทำหน้าที่เป็นผู้ขับเคลื่อนตามแนวทาง 5 กลุ่มงาน โดยจัดการตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำ กลางน้ำ จนถึงปลายน้ำ หรือ ตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบ การออกแบบ การแปรรูป และการส่งออกสู่ตลาดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม (value chain) ทั้งนี้ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้ดำเนินการนำร่องแล้วทั้งหมด 47 แผนงานโดยแบ่งเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้
1. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างงาน เช่น เทคโนโลยีการเกษตร การผลิตพันธุ์พืช การเพาะปลูก เป็นต้น โดยจะมีแผนงาน เช่น แผนงานข้าว แผนงานยาง แผนงานข้าวโพด และแผนงานปาล์ม เป็นต้น รวม 13 แผนงาน
2. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างรายได้ จะเน้นที่การสร้างรายได้หรือเพิ่มมูลค่า เช่น แผนงานเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ SMEs ด้วยเทคโนโลยีซอฟแวร์ และสารสนเทศดิจิตอล แผนงานยกระดับอุตสาหกรรมไทยเพื่อรองรับการผลิตชิ้นส่วนรถไฟและระบบราง รวม 13 แผนงาน
3. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างชีวิต เกี่ยวกับสุขภาพของคน เพื่อตอบโจทย์สังคมผู้สูงอายุในอนาคต เช่น แผนงานนวัตกรรมเพื่อช่วยเหลือคนพิการและผู้สูงอายุที่เหมาะสมกับคนไทย แผนงานนวัตกรรมการผลิตเครื่องมือแพทย์และอุปกรณ์การแพทย์จากงานวิจัยของประเทศไทย รวม 4 แผนงาน
4. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างอนาคต คือการพัฒนาไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยี ในอนาคต เช่น แผนงานภูมิสารสนเทศกลางของประเทศเพื่อลดความซ้ำซ้อนในการนำไปใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม ความมั่นคง และการจัดเก็บภาษีท้องถิ่น อาทิ แผนงานความหลากหลายทางชีวภาพ : การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์ แผนงานขยายการผลิตสาหร่ายเป็นอุตสาหกรรมพลังงานและอาหาร รวม 14 แผนงาน
5. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างฐานความรู้ โดยดำเนินการร่วมกับนโยบาย Talent Mobility จากการใช้ประโยชน์จากกำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และมีโครงการเร่งด่วนเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พร้อมกับเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการด้วยนโยบายการใช้ประโยชน์จากอุทยานวิทยาศาสตร์ (Regional Science Parks) ในการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของภาคธุรกิจอุตสาหกรรมในภูมิภาค

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับยุทธศาสตร์ประเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศซึ่งมีความสำคัญอย่างมาก และที่ผ่านมาการดำเนินงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นรูปแบบลักษณะดำเนินงานตามกลุ่มเทคโนโลยี จึงทำให้บทบาทของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ไทยไม่โดดเด่น รัฐบาลภายใต้การนำของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี กำหนดนโยบายให้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นหน่วยงานหลักในการผลักดันให้งบประมาณด้านการวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศเพิ่มเป็น 1% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ หรือGross Domestic Product(GDP) หรือประมาณ 1.2 แสนล้านบาท เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) ให้เติบโตและก้าวหน้าขึ้น จากผลงานวิจัยและพัฒนาที่สามารถนำวิทยาศาสตร์ฯ มาต่อยอดเพื่อช่วยผู้ประกอบการให้แข่งขันกับต่างประเทศได้ รวมทั้งภาคเกษตรกร สามารถนำผลงานวิจัยไปใช้ในการเพิ่มผลผลิตลดการใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมีทางการเกษตร และภาคธุรกิจอุตสาหกรรมยังสามารถนำผลงานวิจัยด้านเทคโนโลยีไปทดแทนการนำเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศได้อีกด้วย
“กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จะเร่งผลักดันแผนงานทั้ง 47 แผนงาน เพื่อให้เกิดการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน สามารถแข่งขัน และพร้อมรับมือกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือASEAN Economics Community(AEC) ใน ค.ศ. 2015 หรือ พ.ศ. 2558 หรือในอีก 2 ปีข้างหน้า โดยการผลักดันให้ประเทศไทยเป็นผู้นำทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้อย่างแท้จริง”
เพื่อให้งานทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมไปผสมผสานกับงานด้านเศรษฐกิจทั้งหมด นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ให้นโยบายและแนวทางการดำเนินงานว่าจะดำเนินการในลักษณะ Project – based โดยในหนึ่งแผนงานจะต้องมีทุกกระทรวง ทุกหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนเข้ามาร่วมในการขับเคลื่อน ซึ่งกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นเจ้าภาพหลักในการบูรณาการร่วมกันระหว่างทุกกระทรวง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และยังได้สร้างกลไกให้มีผู้แทนของแต่ละแผนงานมาทำหน้าที่เป็นผู้ขับเคลื่อนตามแนวทาง 5 กลุ่มงาน โดยจัดการตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำ กลางน้ำ จนถึงปลายน้ำ หรือ ตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบ การออกแบบ การแปรรูป และการส่งออกสู่ตลาดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม (value chain) ทั้งนี้ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้ดำเนินการนำร่องแล้วทั้งหมด 47 แผนงานโดยแบ่งเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้
1. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างงาน เช่น เทคโนโลยีการเกษตร การผลิตพันธุ์พืช การเพาะปลูก เป็นต้น โดยจะมีแผนงาน เช่น แผนงานข้าว แผนงานยาง แผนงานข้าวโพด และแผนงานปาล์ม เป็นต้น รวม 13 แผนงาน
2. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างรายได้ จะเน้นที่การสร้างรายได้หรือเพิ่มมูลค่า เช่น แผนงานเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ SMEs ด้วยเทคโนโลยีซอฟแวร์ และสารสนเทศดิจิตอล แผนงานยกระดับอุตสาหกรรมไทยเพื่อรองรับการผลิตชิ้นส่วนรถไฟและระบบราง รวม 13 แผนงาน
3. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างชีวิต เกี่ยวกับสุขภาพของคน เพื่อตอบโจทย์สังคมผู้สูงอายุในอนาคต เช่น แผนงานนวัตกรรมเพื่อช่วยเหลือคนพิการและผู้สูงอายุที่เหมาะสมกับคนไทย แผนงานนวัตกรรมการผลิตเครื่องมือแพทย์และอุปกรณ์การแพทย์จากงานวิจัยของประเทศไทย รวม 4 แผนงาน
4. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างอนาคต คือการพัฒนาไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยี ในอนาคต เช่น แผนงานภูมิสารสนเทศกลางของประเทศเพื่อลดความซ้ำซ้อนในการนำไปใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม ความมั่นคง และการจัดเก็บภาษีท้องถิ่น อาทิ แผนงานความหลากหลายทางชีวภาพ : การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์ แผนงานขยายการผลิตสาหร่ายเป็นอุตสาหกรรมพลังงานและอาหาร รวม 14 แผนงาน
5. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างฐานความรู้ โดยดำเนินการร่วมกับนโยบาย Talent Mobility จากการใช้ประโยชน์จากกำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และมีโครงการเร่งด่วนเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พร้อมกับเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการด้วยนโยบายการใช้ประโยชน์จากอุทยานวิทยาศาสตร์ (Regional Science Parks) ในการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของภาคธุรกิจอุตสาหกรรมในภูมิภาค

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับยุทธศาสตร์ประเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศซึ่งมีความสำคัญอย่างมาก และที่ผ่านมาการดำเนินงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นรูปแบบลักษณะดำเนินงานตามกลุ่มเทคโนโลยี จึงทำให้บทบาทของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ไทยไม่โดดเด่น รัฐบาลภายใต้การนำของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี กำหนดนโยบายให้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นหน่วยงานหลักในการผลักดันให้งบประมาณด้านการวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศเพิ่มเป็น 1% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ หรือGross Domestic Product(GDP) หรือประมาณ 1.2 แสนล้านบาท เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) ให้เติบโตและก้าวหน้าขึ้น จากผลงานวิจัยและพัฒนาที่สามารถนำวิทยาศาสตร์ฯ มาต่อยอดเพื่อช่วยผู้ประกอบการให้แข่งขันกับต่างประเทศได้ รวมทั้งภาคเกษตรกร สามารถนำผลงานวิจัยไปใช้ในการเพิ่มผลผลิตลดการใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมีทางการเกษตร และภาคธุรกิจอุตสาหกรรมยังสามารถนำผลงานวิจัยด้านเทคโนโลยีไปทดแทนการนำเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศได้อีกด้วย
“กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จะเร่งผลักดันแผนงานทั้ง 47 แผนงาน เพื่อให้เกิดการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน สามารถแข่งขัน และพร้อมรับมือกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือASEAN Economics Community(AEC) ใน ค.ศ. 2015 หรือ พ.ศ. 2558 หรือในอีก 2 ปีข้างหน้า โดยการผลักดันให้ประเทศไทยเป็นผู้นำทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้อย่างแท้จริง”
เพื่อให้งานทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมไปผสมผสานกับงานด้านเศรษฐกิจทั้งหมด นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ให้นโยบายและแนวทางการดำเนินงานว่าจะดำเนินการในลักษณะ Project – based โดยในหนึ่งแผนงานจะต้องมีทุกกระทรวง ทุกหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนเข้ามาร่วมในการขับเคลื่อน ซึ่งกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นเจ้าภาพหลักในการบูรณาการร่วมกันระหว่างทุกกระทรวง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และยังได้สร้างกลไกให้มีผู้แทนของแต่ละแผนงานมาทำหน้าที่เป็นผู้ขับเคลื่อนตามแนวทาง 5 กลุ่มงาน โดยจัดการตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำ กลางน้ำ จนถึงปลายน้ำ หรือ ตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบ การออกแบบ การแปรรูป และการส่งออกสู่ตลาดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม (value chain) ทั้งนี้ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้ดำเนินการนำร่องแล้วทั้งหมด 47 แผนงานโดยแบ่งเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้
1. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างงาน เช่น เทคโนโลยีการเกษตร การผลิตพันธุ์พืช การเพาะปลูก เป็นต้น โดยจะมีแผนงาน เช่น แผนงานข้าว แผนงานยาง แผนงานข้าวโพด และแผนงานปาล์ม เป็นต้น รวม 13 แผนงาน
2. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างรายได้ จะเน้นที่การสร้างรายได้หรือเพิ่มมูลค่า เช่น แผนงานเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ SMEs ด้วยเทคโนโลยีซอฟแวร์ และสารสนเทศดิจิตอล แผนงานยกระดับอุตสาหกรรมไทยเพื่อรองรับการผลิตชิ้นส่วนรถไฟและระบบราง รวม 13 แผนงาน
3. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างชีวิต เกี่ยวกับสุขภาพของคน เพื่อตอบโจทย์สังคมผู้สูงอายุในอนาคต เช่น แผนงานนวัตกรรมเพื่อช่วยเหลือคนพิการและผู้สูงอายุที่เหมาะสมกับคนไทย แผนงานนวัตกรรมการผลิตเครื่องมือแพทย์และอุปกรณ์การแพทย์จากงานวิจัยของประเทศไทย รวม 4 แผนงาน
4. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างอนาคต คือการพัฒนาไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยี ในอนาคต เช่น แผนงานภูมิสารสนเทศกลางของประเทศเพื่อลดความซ้ำซ้อนในการนำไปใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม ความมั่นคง และการจัดเก็บภาษีท้องถิ่น อาทิ แผนงานความหลากหลายทางชีวภาพ : การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์ แผนงานขยายการผลิตสาหร่ายเป็นอุตสาหกรรมพลังงานและอาหาร รวม 14 แผนงาน
5. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างฐานความรู้ โดยดำเนินการร่วมกับนโยบาย Talent Mobility จากการใช้ประโยชน์จากกำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และมีโครงการเร่งด่วนเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พร้อมกับเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการด้วยนโยบายการใช้ประโยชน์จากอุทยานวิทยาศาสตร์ (Regional Science Parks) ในการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของภาคธุรกิจอุตสาหกรรมในภูมิภาค

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Science and technology to the strategy the country
.Science and technology is the base of economic development of the country, which is very important. And in the past, the science and technology as forms the implementation of group technology.The government under MS yingluck Shinawatra policies to the Ministry of science and technology.1% of gross domestic product, or Gross Domestic Product (GDP) or about 1.2 billion to action plan in line with the strategy of country (Country Strategy) to grow pace up. From the research and development works can bring science. Come on, to help enterprises to compete with foreign countries.The research used in the productivity, reduce the use of chemical fertilizer in agriculture. And the business sector industry also can bring research technology to replace the imported technology from abroad as well
."The Ministry of science and technology will accelerate push the 47 plan plan. For the development of the country's sustainable competitive and ready for entry to the ASEAN economic population or ASEAN Economics. Community (AEC) in AD 2015 or B.Professor 2558 or in another 2 years. By pushing the world leader in science and technology is truly "
.To work in science, technology and innovation to blend with the economic job all you วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล., Minister of science and technologyProject - based by in one plan must have all of all units in both the public and private sectors joined the ในการขับ movement. The Ministry of science and technology is the main hosts in the integration of shared between all the MinistryAnd also establish a mechanism to have representative of each plan serves as a driven along the way 5 กลุ่มง. By manipulating the process upstream, middle water to downstream or from raw material production, design, processing.(value chain) the Ministry of science, the pilot and all 47 plan is divided into 5 group, as follows:
.1. Science to create such as agricultural technology, crop production, cultivation, etc. the programme, such as rice, rubber plan plan The plan of corn and palm, etc., including 13 plan plan
2.Science, to generate income. Focuses on generating income or increase the value, such as a plan to increase the competitive capability of SMEs with software technology and digital information.The plan included 13
.3.Science for life on the health of the people to answer the aging society in the future, such as planning innovation to help disabled and elderly with proper Thai.The plan included 4
.4.Science for the future. Is the development to the development of technology, in the future, such as Planning Geographic Information Center of the nation to reduce redundancy in its application in agriculture. Industrial security.Such as planning biological diversity:Utilization of microbes and products. Plans to expand the existing production of algae as a power industry and food, including 14 plan
5.Science, to build a knowledge base. By policy Talent operated with Mobility from utilization of manpower in science and technology. And there are urgent project to solve the problem of shortage of personnel in science and technology.(Regional Science Parks) to enhance the capability of competition of business and industry in the region
.
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: