การประยุกต์ใช้แหล่งความร้อนใต้พิภพ          ปัจจุบัน เทคโนโลยีในการพัฒ การแปล - การประยุกต์ใช้แหล่งความร้อนใต้พิภพ          ปัจจุบัน เทคโนโลยีในการพัฒ อังกฤษ วิธีการพูด

การประยุกต์ใช้แหล่งความร้อนใต้พิภพ 

การประยุกต์ใช้แหล่งความร้อนใต้พิภพ 

         ปัจจุบัน เทคโนโลยีในการพัฒนาแหล่งพลังงาน ความร้อนใต้พิภพได้มีความก้าวหน้าขึ้นมาก เนื่องจากมีการวิจัยอย่างจริงจังของประเทศต่างๆ ที่พยายามค้นคว้าเพื่อการเพิ่มปริมาณการผลิตพลังงานความร้อนใต้พิภพเพื่อชดเชย กับปริมาณน้ำมันที่กำลังขาดแคลน การศึกษาส่วนใหญ่มุ่งที่จะนำความร้อนที่ได้จากความร้อนใต้พิภพมาใช้ในการผลิต กระแสไฟฟ้า อุณหภูมิของน้ำและไอร้อนที่เหมาะสำหรับนำมาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าควรจะมีอุณหภูมิสูงกว่า 180 องศาเซลเซียส และมีความดันประมาณ 10 บรรยากาศ สามารถนำมาแยกไอน้ำร้อนไปหมุนกังหันผลิตไฟฟ้าได้โดยตรง แต่ถ้าอุณหภูมิของน้ำร้อนมีอุณหภูมิในระดับปานกลางคือ อยู่ต่ำกว่า 180 องศาเซลเซียสการนำน้ำร้อนไปประยุกต์ใช้ต้องอาศัยสารทำงาน (Working fluid) ซึ่งมีจุดเดือดต่ำ เช่น Freon, Amonia หรือ Isobutane เป็นตัวรับความร้อนจากน้ำร้อน เมื่อสารทำงานดังกล่าวได้รับความร้อนจะเปลี่ยนสภาพเป็นไอและมีความดันสูงขึ้นจนสามารถหมุนกังหันผลิตกระแสไฟฟ้าได้ ซึ่งเรียกโรงไฟฟ้าชนิดนี้ว่าโรงไฟฟ้าระบบ 2 วงจรได้มีการวิจัยในโครงการพัฒนาพลังงานความร้อนขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกาโดยทดลองเจาะในบริเวณ Fenton Hill ที่ความลึก 2,758 เมตร พบหินร้อนมีอุณหภูมิ 185 องศา-เซลเซียส ซึ่งหินร้อนที่พบมีสภาพเป็นหินแข็ง ไม่มีรูพรุน น้ำ ไม่สามารถซึมผ่านได้ และไม่เป็นแหล่งกักเก็บน้ำร้อน แต่ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สามารถสร้างแรงอัดภายใน เนื้อหินข้างใต้จนแตกเป็นรูพรุนกว้างพอที่จะเป็นแอ่งที่ใช้ กักเก็บน้ำใต้ดิน จากนั้นได้ทำการปั้มน้ำเย็นลงในแอ่งข้างใต้ที่สร้างขึ้น น้ำเย็นในแอ่งจะได้รับการถ่ายเทความร้อนจาก หินร้อนที่มีอุณหภูมิสูง จนน้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้นและขยายตัวกลายเป็นไอน้ำเดือดพุ่งขึ้นมาสู่บนผิวโลกทางรูเจาะ ซึ่ง สามารถนำไอน้ำเดือดไปใช้การผลิตกระแสไฟ สำหรับประเทศไทยได้มีการประยุกต์ใช้พลังงานความร้อนจากความร้อนใต้พิภพในการผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นแห่งแรกของภาคพื้นเอเซียที่ บ่อน้ำพุร้อน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้ร่วมมือกับกรมทรัพยากรธรณีและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ดำเนินการสำรวจศักยภาพของการพัฒนาแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพตั้งแต่ปี พศ.2521 พบว่าน้ำร้อนจากหลุมเจาะระดับตื้นที่อำเภอฝาง มีความเหมาะสมต่อการนำมาผลิตกระแสไฟฟ้า ด้วยระบบ 2 วงจร ขนาดกำลังผลิต 300 กิโลวัตต์ ดังนั้น ปี พศ.2531 จึงมีการติดตั้งเครื่องกำเหนิดไฟฟ้าระบบ 2 วงจร ขนาดกำลังผลิต 300 กิโลวัตต์ขึ้น ซึ่งสามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ ถึงปีละประมาณ 1.2 ล้านหน่วย ซึ่งเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าจาก พลังงานความร้อนใต้พิภพในรูป
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The application of geothermal sources. ปัจจุบัน เทคโนโลยีในการพัฒนาแหล่งพลังงาน ความร้อนใต้พิภพได้มีความก้าวหน้าขึ้นมาก เนื่องจากมีการวิจัยอย่างจริงจังของประเทศต่างๆ ที่พยายามค้นคว้าเพื่อการเพิ่มปริมาณการผลิตพลังงานความร้อนใต้พิภพเพื่อชดเชย กับปริมาณน้ำมันที่กำลังขาดแคลน การศึกษาส่วนใหญ่มุ่งที่จะนำความร้อนที่ได้จากความร้อนใต้พิภพมาใช้ในการผลิต กระแสไฟฟ้า อุณหภูมิของน้ำและไอร้อนที่เหมาะสำหรับนำมาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าควรจะมีอุณหภูมิสูงกว่า 180 องศาเซลเซียส และมีความดันประมาณ 10 บรรยากาศ สามารถนำมาแยกไอน้ำร้อนไปหมุนกังหันผลิตไฟฟ้าได้โดยตรง แต่ถ้าอุณหภูมิของน้ำร้อนมีอุณหภูมิในระดับปานกลางคือ อยู่ต่ำกว่า 180 องศาเซลเซียสการนำน้ำร้อนไปประยุกต์ใช้ต้องอาศัยสารทำงาน (Working fluid) ซึ่งมีจุดเดือดต่ำ เช่น Freon, Amonia หรือ Isobutane เป็นตัวรับความร้อนจากน้ำร้อน เมื่อสารทำงานดังกล่าวได้รับความร้อนจะเปลี่ยนสภาพเป็นไอและมีความดันสูงขึ้นจนสามารถหมุนกังหันผลิตกระแสไฟฟ้าได้ ซึ่งเรียกโรงไฟฟ้าชนิดนี้ว่าโรงไฟฟ้าระบบ 2 วงจรได้มีการวิจัยในโครงการพัฒนาพลังงานความร้อนขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกาโดยทดลองเจาะในบริเวณ Fenton Hill ที่ความลึก 2,758 เมตร พบหินร้อนมีอุณหภูมิ 185 องศา-เซลเซียส ซึ่งหินร้อนที่พบมีสภาพเป็นหินแข็ง ไม่มีรูพรุน น้ำ ไม่สามารถซึมผ่านได้ และไม่เป็นแหล่งกักเก็บน้ำร้อน แต่ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สามารถสร้างแรงอัดภายใน เนื้อหินข้างใต้จนแตกเป็นรูพรุนกว้างพอที่จะเป็นแอ่งที่ใช้ กักเก็บน้ำใต้ดิน จากนั้นได้ทำการปั้มน้ำเย็นลงในแอ่งข้างใต้ที่สร้างขึ้น น้ำเย็นในแอ่งจะได้รับการถ่ายเทความร้อนจาก หินร้อนที่มีอุณหภูมิสูง จนน้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้นและขยายตัวกลายเป็นไอน้ำเดือดพุ่งขึ้นมาสู่บนผิวโลกทางรูเจาะ ซึ่ง สามารถนำไอน้ำเดือดไปใช้การผลิตกระแสไฟ สำหรับประเทศไทยได้มีการประยุกต์ใช้พลังงานความร้อนจากความร้อนใต้พิภพในการผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นแห่งแรกของภาคพื้นเอเซียที่ บ่อน้ำพุร้อน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้ร่วมมือกับกรมทรัพยากรธรณีและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ดำเนินการสำรวจศักยภาพของการพัฒนาแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพตั้งแต่ปี พศ.2521 พบว่าน้ำร้อนจากหลุมเจาะระดับตื้นที่อำเภอฝาง มีความเหมาะสมต่อการนำมาผลิตกระแสไฟฟ้า ด้วยระบบ 2 วงจร ขนาดกำลังผลิต 300 กิโลวัตต์ ดังนั้น ปี พศ.2531 จึงมีการติดตั้งเครื่องกำเหนิดไฟฟ้าระบบ 2 วงจร ขนาดกำลังผลิต 300 กิโลวัตต์ขึ้น ซึ่งสามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ ถึงปีละประมาณ 1.2 ล้านหน่วย ซึ่งเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าจาก พลังงานความร้อนใต้พิภพในรูป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การประยุกต์ใช้แหล่งความร้อนใต้พิภพ 

         ปัจจุบัน เทคโนโลยีในการพัฒนาแหล่งพลังงาน ความร้อนใต้พิภพได้มีความก้าวหน้าขึ้นมาก เนื่องจากมีการวิจัยอย่างจริงจังของประเทศต่างๆ ที่พยายามค้นคว้าเพื่อการเพิ่มปริมาณการผลิตพลังงานความร้อนใต้พิภพเพื่อชดเชย กับปริมาณน้ำมันที่กำลังขาดแคลน การศึกษาส่วนใหญ่มุ่งที่จะนำความร้อนที่ได้จากความร้อนใต้พิภพมาใช้ในการผลิต กระแสไฟฟ้า อุณหภูมิของน้ำและไอร้อนที่เหมาะสำหรับนำมาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าควรจะมีอุณหภูมิสูงกว่า 180 องศาเซลเซียส และมีความดันประมาณ 10 บรรยากาศ สามารถนำมาแยกไอน้ำร้อนไปหมุนกังหันผลิตไฟฟ้าได้โดยตรง แต่ถ้าอุณหภูมิของน้ำร้อนมีอุณหภูมิในระดับปานกลางคือ อยู่ต่ำกว่า 180 องศาเซลเซียสการนำน้ำร้อนไปประยุกต์ใช้ต้องอาศัยสารทำงาน (Working fluid) ซึ่งมีจุดเดือดต่ำ เช่น Freon, Amonia หรือ Isobutane เป็นตัวรับความร้อนจากน้ำร้อน เมื่อสารทำงานดังกล่าวได้รับความร้อนจะเปลี่ยนสภาพเป็นไอและมีความดันสูงขึ้นจนสามารถหมุนกังหันผลิตกระแสไฟฟ้าได้ ซึ่งเรียกโรงไฟฟ้าชนิดนี้ว่าโรงไฟฟ้าระบบ 2 วงจรได้มีการวิจัยในโครงการพัฒนาพลังงานความร้อนขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกาโดยทดลองเจาะในบริเวณ Fenton Hill ที่ความลึก 2,758 เมตร พบหินร้อนมีอุณหภูมิ 185 องศา-เซลเซียส ซึ่งหินร้อนที่พบมีสภาพเป็นหินแข็ง ไม่มีรูพรุน น้ำ ไม่สามารถซึมผ่านได้ และไม่เป็นแหล่งกักเก็บน้ำร้อน แต่ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สามารถสร้างแรงอัดภายใน เนื้อหินข้างใต้จนแตกเป็นรูพรุนกว้างพอที่จะเป็นแอ่งที่ใช้ กักเก็บน้ำใต้ดิน จากนั้นได้ทำการปั้มน้ำเย็นลงในแอ่งข้างใต้ที่สร้างขึ้น น้ำเย็นในแอ่งจะได้รับการถ่ายเทความร้อนจาก หินร้อนที่มีอุณหภูมิสูง จนน้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้นและขยายตัวกลายเป็นไอน้ำเดือดพุ่งขึ้นมาสู่บนผิวโลกทางรูเจาะ ซึ่ง สามารถนำไอน้ำเดือดไปใช้การผลิตกระแสไฟ สำหรับประเทศไทยได้มีการประยุกต์ใช้พลังงานความร้อนจากความร้อนใต้พิภพในการผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นแห่งแรกของภาคพื้นเอเซียที่ บ่อน้ำพุร้อน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้ร่วมมือกับกรมทรัพยากรธรณีและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ดำเนินการสำรวจศักยภาพของการพัฒนาแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพตั้งแต่ปี พศ.2521 พบว่าน้ำร้อนจากหลุมเจาะระดับตื้นที่อำเภอฝาง มีความเหมาะสมต่อการนำมาผลิตกระแสไฟฟ้า ด้วยระบบ 2 วงจร ขนาดกำลังผลิต 300 กิโลวัตต์ ดังนั้น ปี พศ.2531 จึงมีการติดตั้งเครื่องกำเหนิดไฟฟ้าระบบ 2 วงจร ขนาดกำลังผลิต 300 กิโลวัตต์ขึ้น ซึ่งสามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ ถึงปีละประมาณ 1.2 ล้านหน่วย ซึ่งเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าจาก พลังงานความร้อนใต้พิภพในรูป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Application of geothermal resources.

.Oh oh oh. At present, the technology in the development of the sources of energy. Geothermal has a lot of progress. Due to a serious research in various countries.With the quantity of oil is scarce. Most studies aim to bring the heat from geothermal heating is used in producing electricity.180 C and a pressure of about 10 atmosphere. Can be used to separate the steam turbine to rotate the electricity directly. But if the temperature of the hot water temperature is lower than the average. 180.(Working fluid), which has a low boiling point, such as FreonAmonia or Isobutane as heat from the hot water. When the working fluid heat will change the vapor pressure rise and can หมุนกังหัน electricity. Which is called power plant of this type 2 power plant.Fenton Hill depth, 2758 meters found the hot rock temperature 185 degree Celsius. The hot rock found the hard rock, no porosity, water can not be absorbed through, and not reservoirs in hot water. But with technological advances, can create pressure inside.Groundwater storage Then the pump water into the basin below created. The water in the basin are given heat transfer from hot stones with high temperature.This can lead to the production of steam electric current. The application of thermal energy from a geothermal heating in the production of electric as the first of the Asia. Hot springs. Fang District, Chiang Mai province.(1976-1983)2521 found that hot water from shallow hole drilling at the Fang Suitable for the production of electricity with the system 2 circuit with capacity of 300. So years 1976-1983.2531 have installed generator system 2 circuit with capacity of 300 kW. Which can produce power to approximately 1.2 million units. The generator. Geothermal energy in the picture.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: