The Functions of the Executive The following summary. บาร์นาร์ด มีวัตถุประสงค์สำคัญที่จะอธิบายทฤษฎีของพฤติกรรมความร่วมมือในองค์การที่เป็นทางการ โดยความร่วมมือเป็นจุดเริ่มต้นของความต้องการของปัจเจกบุคคล เพราะคนเราไม่สามารถทำอะไรได้ทั้งหมด ดังนั้นต้องอาศัยความร่วมมือกัน โดยระบบความร่วมมือจะต้องให้ความสำคัญกับความสัมพันธ์ระหว่างกันของปัจจัยด้านชีววิทยา จิตวิทยา และสังคม เน้นให้ความสำคัญกับเรื่องประสิทธิผล (effective) ที่ทำให้องค์การบรรลุเป้าหมายและประสิทธิภาพ(efficient) ที่ตอบสนองความพึงพอใจให้กับปัจเจกบุคคล ทั้งนี้ทุกคนจะต้องมีความเต็มใจในการร่วมมือกันทำงาน (willingness to cooperate) และมีความสามารถในการสื่อสารที่ดี (ability to communicate) โดยทำงานให้สอดคล้องกับเป้าหมายขององค์การ นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารจะต้องมีภาวะผู้นำที่จะสามารถสร้างความร่วมมือในการทำงานให้บรรลุเป้าหมายขององค์การอย่างมีคุณภาพและศีลธรรมอันดี"The Functions of the Executive", split the content into 4 major sections, namely.Part 1 discusses collaboration in the enterprise system (Cooperative systems) that he mentioned the person with physical, biological and psychological factors, organization, and society that affect collaboration, including guidelines about cooperation in modern practice.Part 2 discusses the theory and structure of formal organization discussed the definition of the formal organization. Theory of formal organization. The organization structure is complex and the relationship between the Organization of formal and informal.ส่วนที่ 3 กล่าวถึง ส่วนประกอบสำคัญขององค์การแบบเป็นทางการ กล่าวถึง หลักเกณฑ์และประเภทของความชำนาญพิเศษ การจูงใจเชิงเศรษฐกิจ ทฤษฎีการใช้อำนาจ สภาพแวดล้อมของการตัดสินใจและทฤษฎีการฉวยโอกาสเพื่อการตัดสินใจส่วนที่ 4 กล่าวถึง หน้าที่ขององค์การในระบบความร่วมมือ กล่าวถึง หน้าที่สำคัญของฝ่ายบริหาร กระบวนการบริหาร และธรรมชาติของฝ่ายบริหารต่อความรับผิดชอบอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า หนังสือ “The Functions of the Executive” ของบาร์นาร์ด เป็นการเปิดศักราชใหม่ของการศึกษาทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์และทฤษฎีองค์การที่แตกต่างจากทฤษฎีในยุคดั้งเดิม (Classical theory) เนื่องจากศึกษาองค์การโดยให้ความสำคัญต่อพฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ รวมทั้งเริ่มให้ความสำคัญต่อสิ่งแวดล้อมขององค์การ นอกจากนี้ บาร์นาร์ดยังได้แยกให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างแรงกระตุ้นของปัจเจกบุคคลกับองค์การ โดยเสนอการแยกอธิบายถึงความมุ่งหมายของประสิทธิผลกับประสิทธิภาพ (effective-efficient dichotomy) ซึ่งเป็นการเสนอแนวการมองเรื่ององค์การอีกแนวหนึ่งนอกเหนือจากทฤษฎีดั้งเดิม เราอาจมองว่าหนังสือดังกล่าวเป็นตัวเชื่อมไปสู่ทฤษฎีท้าทายก็ได้ จึงถือได้ว่าบาร์นาร์ดเป็นผู้สร้างมิติทางความคิดเกี่ยวกับทฤษฎีองค์การที่เสริมแนวความคิดของทฤษฎีในยุคดั้งเดิมหรือคลาสสิก โดยแนวความคิดของบาร์นาร์ดนั้นถือได้ว่าเป็นนักทฤษฎีองค์การที่เป็นทฤษฎีแบบมานุษยนิยม หรือมนุษยสัมพันธ์
การแปล กรุณารอสักครู่..