“กะเหรี่ยง” เดิมเป็นคำที่คนมอญใช้เรียกกลุ่มคนที่อยู่ในพื้นที่ป่าเขา (ค การแปล - “กะเหรี่ยง” เดิมเป็นคำที่คนมอญใช้เรียกกลุ่มคนที่อยู่ในพื้นที่ป่าเขา (ค ละติน วิธีการพูด

“กะเหรี่ยง” เดิมเป็นคำที่คนมอญใช้เร

“กะเหรี่ยง” เดิมเป็นคำที่คนมอญใช้เรียกกลุ่มคนที่อยู่ในพื้นที่ป่าเขา (คือพรมแดนประเทศไทย-พม่า) ปัจจุบันเรียกว่า กะเหรี่ยงโปว์ เรียกตัวเองว่า“เกอะญา”
“กะหร่าง” เป็นคำที่ใช้เรียกลุ่มคนเดียวกัน แต่มีลักษณะต่างไปด้วยภาษาและการแต่งกาย ซึ่งก็คือกะเหรี่ยงสะกอ ที่มักเรียกตัวเองว่า “เกอะญอ”
คำว่า “เกอะญา” นี้เอง ที่นักวิชาการคิดว่าได้เพี้ยนกลายเป็นคำว่า karyan ซึ่งเป็นคำพม่าโบราณที่ใช้เรียกเหมารวมกลุ่มคนทั้ง 2 กลุ่ม ซึ่งเพี้ยนกลายเป็นคำที่หลากหลายตามกลุ่มคนที่ใช้ภาษาต่างกันในเวลาต่อมา สรุปได้ดังนี้
“กะเหรี่ยง” ซึ่งเป็นคำที่คนมอญใช้เรียกกะเหรี่ยงสะกอ และคนไทยใช้เรียกกะเหรี่ยงทั้ง 2 กลุ่ม
“กะหร่าง” ซึ่งเป็นคำที่คนมอญใช้เรียกกะเหรี่ยงโปว์
“คะหยิ่น” ซึ่งเป็นคำที่คนพม่าใช้เรียกกะเหรี่ยงทั้ง 2 กลุ่ม โดยมีนัยของความป่าเถื่อนซ่อนอยู่ด้วย
“ยาง” ซึ่งเป็นคำที่คนพูดภาษาไตทางตอนเหนือและคนไทยภาคเหนือ (คนเมือง) ใช้เรียกกะเหรี่ยงทั้ง 2 กลุ่มและอาจกล่าวได้ว่ามีนัยของความล้าหลังอยู่
ในยุคสมัยใหม่ได้มีการแยกชนกลุ่มน้อยต่างๆ และเรียกอย่างเหมารวมว่า “กะเหรี่ยง” มักจะมาพร้อมทัศนคติในแง่ลบ เช่น ความล้าหลัง ความป่าเถื่อน การศึกษาต่ำ
ดังนั้นชาวสะกอจึงได้รณรงค์ให้เรียกกลุ่มตนว่า “ปกาเกอะญอ” แปลว่าคนป่าหรือผู้อาศัยอยู่ในป่า ซึ่งบ่งบอกถึงความมีศักดิ์ศรี แต่ชื่อดังกล่าวกลับไม่ได้รับการยอมรับจากชาวโปว์ ซึ่งเรียกตนเองว่า “โพล่ง”
ท้ายที่สุด เมื่อมีการเรียกรวมกลุ่มใหญ่ที่มีทั้งสะกอและโปว์ เพื่อสร้างจิตสำนึกชาติพันธุ์ สร้างความเข้มแข็งและเพิ่มอำนาจต่อรองกับภาครัฐ จึงได้มีการนำเอาคำว่า“กะเหรี่ยง” กลับมาใช้อีกครั้งในการตั้งชื่อองค์กรและขบวนการเคลื่อนไหวต่างๆ ดังนี้
“กะเหรี่ยง” คือ คำที่ใช้เรียกรวมกลุ่มชาติพันธุ์ทั้ง 2 กลุ่ม คือ สะกอและโปว์ โดยมีนัยเชิงลบเล็กน้อย
“ปกาเกอะญอ” คือ คำที่กลุ่มกะเหรี่ยงสะกอใช้เรียกตนเอง และบุคคลภายนอกใช้เรียกที่สุภาพกว่า “กะเหรี่ยง เผ่าสะกอ”
“โพล่ง” คือคำที่กลุ่มกะเหรี่ยงโปว์ใช้เรียกตนเอง และบุคคลภายนอกใช้เรียกที่สุภาพกว่า “กะเหรี่ยง เผ่าโปว์”
กะเหรี่ยงเผ่าสะกอ หรือ กะเหรี่ยง หรือ ปกาเกอะญอ นั้น อาศัยอยู่ทางภาคเหนือของเมืองไทย มีภาษาตระกูลทิเบต-พม่า
กะเหรี่ยงเผ่าโปว์ หรือ กะหร่าง หรือ โพล่ง นั้น อาศัยอยู่ตะเข็บชายแดนแถว เพชรบุรี กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์
แต่ถึงแม้จะเป็นกะเหรี่ยง แต่ทั้ง 2 เผ่านี้ ก็มีการแต่งตัวคนละแบบ และพูดคนละภาษา จึงไม่ควรนำมาเหมารวมกัน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ละติน) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
“กะเหรี่ยง” เดิมเป็นคำที่คนมอญใช้เรียกกลุ่มคนที่อยู่ในพื้นที่ป่าเขา (คือพรมแดนประเทศไทย-พม่า) ปัจจุบันเรียกว่า กะเหรี่ยงโปว์ เรียกตัวเองว่า“เกอะญา”
“กะหร่าง” เป็นคำที่ใช้เรียกลุ่มคนเดียวกัน แต่มีลักษณะต่างไปด้วยภาษาและการแต่งกาย ซึ่งก็คือกะเหรี่ยงสะกอ ที่มักเรียกตัวเองว่า “เกอะญอ”
คำว่า “เกอะญา” นี้เอง ที่นักวิชาการคิดว่าได้เพี้ยนกลายเป็นคำว่า karyan ซึ่งเป็นคำพม่าโบราณที่ใช้เรียกเหมารวมกลุ่มคนทั้ง 2 กลุ่ม ซึ่งเพี้ยนกลายเป็นคำที่หลากหลายตามกลุ่มคนที่ใช้ภาษาต่างกันในเวลาต่อมา สรุปได้ดังนี้
“กะเหรี่ยง” ซึ่งเป็นคำที่คนมอญใช้เรียกกะเหรี่ยงสะกอ และคนไทยใช้เรียกกะเหรี่ยงทั้ง 2 กลุ่ม
“กะหร่าง” ซึ่งเป็นคำที่คนมอญใช้เรียกกะเหรี่ยงโปว์
“คะหยิ่น” ซึ่งเป็นคำที่คนพม่าใช้เรียกกะเหรี่ยงทั้ง 2 กลุ่ม โดยมีนัยของความป่าเถื่อนซ่อนอยู่ด้วย
“ยาง” ซึ่งเป็นคำที่คนพูดภาษาไตทางตอนเหนือและคนไทยภาคเหนือ (คนเมือง) ใช้เรียกกะเหรี่ยงทั้ง 2 กลุ่มและอาจกล่าวได้ว่ามีนัยของความล้าหลังอยู่
ในยุคสมัยใหม่ได้มีการแยกชนกลุ่มน้อยต่างๆ และเรียกอย่างเหมารวมว่า “กะเหรี่ยง” มักจะมาพร้อมทัศนคติในแง่ลบ เช่น ความล้าหลัง ความป่าเถื่อน การศึกษาต่ำ
ดังนั้นชาวสะกอจึงได้รณรงค์ให้เรียกกลุ่มตนว่า “ปกาเกอะญอ” แปลว่าคนป่าหรือผู้อาศัยอยู่ในป่า ซึ่งบ่งบอกถึงความมีศักดิ์ศรี แต่ชื่อดังกล่าวกลับไม่ได้รับการยอมรับจากชาวโปว์ ซึ่งเรียกตนเองว่า “โพล่ง”
ท้ายที่สุด เมื่อมีการเรียกรวมกลุ่มใหญ่ที่มีทั้งสะกอและโปว์ เพื่อสร้างจิตสำนึกชาติพันธุ์ สร้างความเข้มแข็งและเพิ่มอำนาจต่อรองกับภาครัฐ จึงได้มีการนำเอาคำว่า“กะเหรี่ยง” กลับมาใช้อีกครั้งในการตั้งชื่อองค์กรและขบวนการเคลื่อนไหวต่างๆ ดังนี้
“กะเหรี่ยง” คือ คำที่ใช้เรียกรวมกลุ่มชาติพันธุ์ทั้ง 2 กลุ่ม คือ สะกอและโปว์ โดยมีนัยเชิงลบเล็กน้อย
“ปกาเกอะญอ” คือ คำที่กลุ่มกะเหรี่ยงสะกอใช้เรียกตนเอง และบุคคลภายนอกใช้เรียกที่สุภาพกว่า “กะเหรี่ยง เผ่าสะกอ”
“โพล่ง” คือคำที่กลุ่มกะเหรี่ยงโปว์ใช้เรียกตนเอง และบุคคลภายนอกใช้เรียกที่สุภาพกว่า “กะเหรี่ยง เผ่าโปว์”
กะเหรี่ยงเผ่าสะกอ หรือ กะเหรี่ยง หรือ ปกาเกอะญอ นั้น อาศัยอยู่ทางภาคเหนือของเมืองไทย มีภาษาตระกูลทิเบต-พม่า
กะเหรี่ยงเผ่าโปว์ หรือ กะหร่าง หรือ โพล่ง นั้น อาศัยอยู่ตะเข็บชายแดนแถว เพชรบุรี กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์
แต่ถึงแม้จะเป็นกะเหรี่ยง แต่ทั้ง 2 เผ่านี้ ก็มีการแต่งตัวคนละแบบ และพูดคนละภาษา จึงไม่ควรนำมาเหมารวมกัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: