สมมุติฐานการวิจัย1. ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมลดพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่ม การแปล - สมมุติฐานการวิจัย1. ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมลดพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่ม อังกฤษ วิธีการพูด

สมมุติฐานการวิจัย1. ภายหลังเข้าร่วม

สมมุติฐานการวิจัย
1. ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมลดพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มทดลองจะมีคะแนนเฉลี่ยในเรื่องต่อไปนี้ดีขึ้นกว่าก่อนการทดลอง และดีขึ้นกว่ากลุ่มควบคุม
1.1 ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ผลกระทบด้านสุขภาพ
1.2 แรงจูงใจในการหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
1.3 ทักษะในการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
2. ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมลดพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มทดลองจะมีคะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระยะหลังทดลองและระยะติดตามผล ลดลงกว่าระยะก่อนการทดลอง และลดลงมากกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม
วิธีการดำเนินการวิจัย
ตอนที่1. รูปแบบของการวิจัยและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.รูปแบบการวิจัย (Research design)
การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi – experimental research) โดยแบ่งกลุ่มที่ศึกษาออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองจะได้รับโปรแกรมลดพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และกลุ่มควบคุม มีการวัดผลการทดลอง 3 ครั้ง คือ ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง ระยะติดตามผล
2. วิธีการรวบรวมข้อมูล (Data collection method) การตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง
3. ประชากร
ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือประชากรวัยผู้ใหญ่เพศชายอายุ 25- 45 ปี ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ตำบลบ้านบัว อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ และมีพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตามแบบประเมินพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (AUDIT) มีคะแนนระหว่าง 8-19 คะแนนและไม่ได้เป็นบุคคลที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีพฤติกรรมติดสุรา/เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เก็บข้อมูลที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบัว อำเภอเมืองจังหวัดบุรีรัมย์ การดำเนินกิจกรรมใช้ห้องประชุมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบัว
3.1 กลุ่มตัวอย่าง
การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยการประมาณค่าขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งสูตรนี้ใช้ในกรณีที่ทราบขนาดของประชากรที่แน่นอน(cocrane) และต้องการประมาณค่าเฉลี่ยของประชากรได้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มละ33 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ เพื่อป้องกันกลุ่มตัวอย่างสูญหายจึงเพิ่มจำนวนกลุ่มตัวอย่าง 20 % ได้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มละ 40 คน รวมกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ 80 คน
4. ระยะเวลาการเก็บข้อมูลทั้งหมดในการวิจัย
เก็บข้อมูลหลังจากได้รับการรับรองจริยธรรมการวิจัยจากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีระยะเวลาเก็บข้อมูล 8 สัปดาห์ โดยแบ่งเป็นระยะดำเนินการทดลอง 4 สัปดาห์ และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 8
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
สมมุติฐานการวิจัย1. ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมลดพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มทดลองจะมีคะแนนเฉลี่ยในเรื่องต่อไปนี้ดีขึ้นกว่าก่อนการทดลอง และดีขึ้นกว่ากลุ่มควบคุม1.1 ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ผลกระทบด้านสุขภาพ1.2 แรงจูงใจในการหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์1.3 ทักษะในการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2. ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมลดพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มทดลองจะมีคะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระยะหลังทดลองและระยะติดตามผล ลดลงกว่าระยะก่อนการทดลอง และลดลงมากกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมวิธีการดำเนินการวิจัยตอนที่1. รูปแบบของการวิจัยและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล1.รูปแบบการวิจัย (Research design) การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi – experimental research) โดยแบ่งกลุ่มที่ศึกษาออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองจะได้รับโปรแกรมลดพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และกลุ่มควบคุม มีการวัดผลการทดลอง 3 ครั้ง คือ ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง ระยะติดตามผล 2. วิธีการรวบรวมข้อมูล (Data collection method) การตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง3. ประชากรประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือประชากรวัยผู้ใหญ่เพศชายอายุ 25- 45 ปี ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ตำบลบ้านบัว อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ และมีพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตามแบบประเมินพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (AUDIT) มีคะแนนระหว่าง 8-19 คะแนนและไม่ได้เป็นบุคคลที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีพฤติกรรมติดสุรา/เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เก็บข้อมูลที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบัว อำเภอเมืองจังหวัดบุรีรัมย์ การดำเนินกิจกรรมใช้ห้องประชุมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบัว3.1 กลุ่มตัวอย่าง การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยการประมาณค่าขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งสูตรนี้ใช้ในกรณีที่ทราบขนาดของประชากรที่แน่นอน(cocrane) และต้องการประมาณค่าเฉลี่ยของประชากรได้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มละ33 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ เพื่อป้องกันกลุ่มตัวอย่างสูญหายจึงเพิ่มจำนวนกลุ่มตัวอย่าง 20 % ได้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มละ 40 คน รวมกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ 80 คน 4. ระยะเวลาการเก็บข้อมูลทั้งหมดในการวิจัย เก็บข้อมูลหลังจากได้รับการรับรองจริยธรรมการวิจัยจากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีระยะเวลาเก็บข้อมูล 8 สัปดาห์ โดยแบ่งเป็นระยะดำเนินการทดลอง 4 สัปดาห์ และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 8
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The hypothesis.1. After participating in the program to reduce alcohol drinking behavior in the group have mean scores in the following story better than before treatment. And better than the control group.1.1 knowledge about alcohol effects on health.1.2 motivation to avoid drinking alcohol.1.3 skills to refuse to drink alcohol.2. After participating in the program to reduce alcohol drinking behavior in the group have average score of alcohol drinking behavior during the trial and follow-up phases. Decreased over the period before experiment. And reduced compared with the control group.How to conduct research.When 1. The model of research and the methods of data collection1. Research model (Research design).This quasi-experimental research was (Quasi - Experimental Research) by dividing the students into 2 group will be the program to reduce alcohol drinking behavior Group and control group. The Measurement Experiment 3 times is the experiment. After the follow-up periods.2. Data collection (Data collection method) questionnaire self.3. Population.The population in this research. The adult population age 25 - 45 years. Living in the area of House District, Kanchanaburi province. And alcohol drinking behavior based on behavioral assessment, alcohol (AUDIT) scores between 8-19 points, and is not the person was diagnosed with ติดสุรา/ behavior of alcoholic beverages. Collect data for health promoting hospital house. Mueang buriram province. The activities of health promotion hospital Meeting House District lotus.3.1 samples.Determining the sample size is estimated the size of the sample. Which use this formula in case know the size of the population, of course (cocrane). And want to estimation of population mean population groups, 33. The experimental group and the comparison group. To prevent the loss, thus improving the sample 20% group.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: