การอภิปรายผล จากผลการวิเคราะห์ศิลปะการใช้ภาษาของ เดือนวาด พิมวนา ที่ปร การแปล - การอภิปรายผล จากผลการวิเคราะห์ศิลปะการใช้ภาษาของ เดือนวาด พิมวนา ที่ปร อังกฤษ วิธีการพูด

การอภิปรายผล จากผลการวิเคราะห์ศิลปะ

การอภิปรายผล
จากผลการวิเคราะห์ศิลปะการใช้ภาษาของ เดือนวาด พิมวนา ที่ปรากฏในนวนิยายรางวัลซีไรต์ “เรื่อง ช่างสำราญ” ทำให้มองเห็นถึงลักษณะเฉพาะในด้านการใช้ภาษาของ เดือนวาด พิมวนา ว่าเป็นนัก เขียนที่สามารถใช้ภาษาได้อย่างประณีตบรรจง พิถีพิถัน เลือกสรรภาษาวรรณศิลป์ได้อย่างสละสลวย สมเหตุ สมผล และสมจริง ใช้คำและความที่กระชับ ชัดเจน แต่กินใจความกว้างใช้ภาษาที่เรียบง่าย จริงใจ ช่วยให้ ผู้อ่านเข้าใจง่าย สามารถเข้าถึงผู้อ่านได้ทุกเพศทุกวัยสร้างการยอมรับและประทับใจในผลงานวรรณกรรม ได้เป็นอย่างดี
เมื่อกล่าวถึงนวนิยาย “เรื่อง ช่างสำราญ” ซึ่งเป็นเรื่องราวของเด็กชายกำพล ช่างสำราญ วัย 5 ขวบ ซึ่งประสบปัญหาครอบครัวแตกแยก สาเหตุมาจากมารดา คือนางน้ำฝน ช่างสำราญมีชู้ ส่วนบิดา คือ นายวสุ ช่างสำราญ ได้นำน้องชายของเด็กชายกำพล คือ เด็กชายกำจร ช่างสำราญไปอยู่ด้วยกับภรรยาใหม่ คือ นางลม ส่วนเด็กชายกำพลถูกทอดทิ้งไว้ในชุมชนห้องแถวคุณแม่ทองจันทร์ เขาไดรับความช่วยเหลือจาก บรรดาชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในชุมชนห้องแถวแห่งนี้ จากเนื้อเรื่องย่อข้างต้นจะเห็นได้ว่า ตัวละครเด็กซึ่งเป็น ตัวละครสำคัญของเรื่องนี้ประสบชะตากรรมที่ดูเหมือนว่า เด็กอายุเพียง 5 ขวบไม่นาจะทนรับสภาพเช่นนี้ ได้ แต่ที่ว่าผู้เขียนเลือกใช้ ลักษณะเด่นของศิลปะการใช้ภาษาเข้ามานำเสนอเรื่องราว เมื่อจะสื่อถึงความ ทุกข์ยากลำบากของตัวละคร เดือนวาด พิมวนา มักจะเลือกใช้ภาษาที่สื่อความโดยการเสนอแนะผ่านการ ใช้สำนวนโวหาร และการใช้ภาพพจน์ ส่วนเรื่องราวเกี่ยวกับความสุขสำราญของตัวละคร เดือนวาด พิมวนา มักจะเลือกใช้ภาษาที่สื่อความโดยตรง ผ่านการใช้คำ และการใช้ประโยค
สิ่งที่น่าสนใจซึ่งเห็นได้ชัดเจน คือ เดือนวาด พิมวนา เลือกใช้ภาษาสื่อความโดยการเสนอแนะ มากกว่า การสื่อความโดยตรง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้ภาพพจน์ ประเภทอุปมา และบุคลาธิษฐาน มัก จะปรากฏในเนื้อหา อาจเป็นเพราะว่าภาพรวมของเรื่องราวในนวนิยายเรื่องนี้ เป็นเรื่องของปัญหาสังคม ที่ ตัวละครอย่าง เด็กชายกำพล ช่างสำราญ อายุเพียง 5 ขวบ ต้องประสบชะตากรรม การใช้ภาพพจน์จะช่วย ให้ปัญหาต่างๆ ที่ตัวละครเด็ก ต้องเผชิญนั้นดูไม่หนักหนาสาหัสจนเกินไป ผู้อานเกิดจินตภาพ เห็นภาพที่ ชัดเจน ด้วยพลังของภาษาจึงเป็นการสื่ออารมณ์ขึ้น ยั่วล้อชะตากรรมของเด็กชายกำพล ช่างสำราญ ได้ อย่างน่าสนใจและชวนติดตามอ่านตลอดทั้งเรื่อง
ผู้วิจัยพบว่า การใช้ภาษานำเสนอเรื่องราวในแต่ละตอนนั้น เดือนวาด พิมวนา มักจะเริ่มเรื่องโดย การใช้ภาษาที่สื่อถึงความสนุกสนานร่าเริง ความสดชื่นแจ่มใส แล้วดำเนินเรื่องไปตามวิถีทางของการวาง โครงเรื่อง แล้วจึงนำเสนอการใช้ภาษาที่สื่อถึงเรื่องราวเกี่ยวกับความทุกข์โศกของตัวละครเด็กชายกำพล ช่างสำราญ จากกลวิธีการนำเสนอเช่นนี้ เป็นการช่วยปลอบประโลมตัวละคร และผู้อ่านไปในเวลาเดียวกัน ดั่งที่เวียง – วชิระ บัวสนธ์ ได้กล่าวถึงศิลปะการใช้ภาษาของเดือนวาดไว้ว่า “มีการใช้ภาษาที่สอดรับกับตัว เนื้อได้อย่างน่าสนใจยิ่ง”
นอกจากนี้ผู้เขียนยังสร้างตัวละครอื่นให้มาเป็นคู่เปรียบกับเด็กชายกำพล ช่างสำราญ เช่น ชายหนุ่มสติไม่สมประกอบผู้หิวโหย และเด็กหญิงนัดดา ซึ่งเป็นเด็กกำพร้าฐานะยากจนอาศัยอยู่กับคุณตาฉ่อย ผู้มีขาซ้ายพิการ และคุณยายเจือซึ่งป่วยเป็นโรคเบาหวานผู้ซึ่งกำลังจะสูญเสียขาซ้ายเพราะโรคเบาหวาน เป็นต้น ทำให้ผู้อ่านรู้สึกว่า ปัญหาต่างๆ ที่ผ่านเข้ามาในชีวิตของเด็กชายกำพล ช่างสำราญ นั้นไม่ใช้เรื่องที่ เลวร้ายจนเกินไป เพราะเขาสามารถดูแลตัวเองได้ ดั่งที่เข้าได้กล่าวกับนายชงไว้ว่า “ผมเป็นกำพล กับเป็นผู้ปกครองของกำพลด้วย” และเข้ายังได้รับความช่วยเหลือจากบรรดาชาวบ้าน ซึ่งต่างกับชายหนุ่มสติไม่สมประกอบผู้หิวโหยที่ไม่มีใครดูแล นอกจากนี้เขายังได้รับทุนการศึกษาอีกด้วย และเขาไม่ได้มีภาระหน้าที่ที่ต้อง ดูแลใครเหมือนเด็กหญิงนัดดา เด็กชายกำพล ช่างสำราญ จึงไม่ได้มีชีวิตที่ลำบากจนเกินไปหากเปรียบกับ ตัวละครที่กล่าวมาข้างต้น ซึ่งสอดคล้องกับคำกล่าว ของประภัสสร เสวกุลที่ว่า นวนิยายเรื่อง ช่างสำราญ “เป็นนวนิยายที่เล็กแต่ใหญ่ ง่ายแต่งาม เจ็บปวดแต่ไม่รวดร้าว และขื่นขมแต่ไม่ขมขื่น”
อีกสิ่งหนึ่งที่สำคัญ จะเห็นได้ว่าเดือนวาด พิมวนา สามารถเลือกนำพลังทางวรรณศิลป์เข้ามาสร้าง งานประพันธ์ซึ่งเป็นส่วนช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาสาระได้ง่ายยิ่งขึ้น ส่งผลให้เนื้อหาที่ดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่ พูดถึงความเศร้าโศก จึงไม่โศกเศร้า เพราะศิลปะการใช้ภาษาของ เดือนวาด พิมวนา ที่สื่อแสดงเรื่องธรรมดา ที่ไม่ธรรมดา ทำให้อ่านเกิดความรู้สึกตรงกันข้าม จะเห็นได้ว่าศิลปะการใช้ภาษาเข้ามามีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดเรื่องราวเหล่านี้เป็นอย่างยิ่ง ดังแนวคิดของสิริวรรณ นันทจันทูล ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ศิลปะการใช้ภาษาในวรรณกรรมไว้ว่า “นวนิยายเป็นวรรณกรรมบันเทิงคดีที่ถ่ายทอดลีลาการใช้ภาษาของผู้ประพันธ์ได้อย่างดียิ่ง หากผู้ประพันธ์มีศิลปะการใช้ภาษาได้อย่างยอดเยี่ยมก็จะแสดงลีลาภาษาที่โดดเด่น ทำให้ผู้อ่านได้รับอรรถรส และเกิดจินตภาพตามที่ผู้ประพันธ์ประสงค์”
ศิลปะการใช้ภาษาของเดือนวาด พิมวนา ที่ปรากฏในนวนิยายรางวัลซีไรต์ เรื่อง ช่างสำราญ สร้างสรรค์ให้ชีวิตของตัวละครสำคัญอย่างเด็กชายกำพล ช่างสำราญเป็นชีวิตที่น่าอ่านน่าติดตาม และซาบซึ้ง กับความเอื้ออาทรของบรรดาชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในชุมชนห้องแถวคุณแม่ทองจันทร์ นับเป็นส่วนสำคัญยิ่งที่ ทำให้นวนิยาย “เรื่อง ช่างสำราญ” มีความโดดเด่น แสดงถึงคุณภาพของผลงานจนทำใหนวนิยายเรี่องนี้ได้ รับรางวัลซีไรต์ และประทับใจผู้อ่านเสมอมา

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Discussion of results. From the analysis results of the month draw language arts that appear in the novel Prize WANA PIM CD Wright "Bela technicians" to make visible the characteristics in the language of the month draw is that students enter WANA. Written language that can be used to get the language selection is meticulously elaborately wansin well-arranged? Reasonable and realistic. Use clear, concise words and the mind-eater, but the width used simple language. Sincerely help readers understand Readers can access all ages create acceptance and in literary works as well. เมื่อกล่าวถึงนวนิยาย “เรื่อง ช่างสำราญ” ซึ่งเป็นเรื่องราวของเด็กชายกำพล ช่างสำราญ วัย 5 ขวบ ซึ่งประสบปัญหาครอบครัวแตกแยก สาเหตุมาจากมารดา คือนางน้ำฝน ช่างสำราญมีชู้ ส่วนบิดา คือ นายวสุ ช่างสำราญ ได้นำน้องชายของเด็กชายกำพล คือ เด็กชายกำจร ช่างสำราญไปอยู่ด้วยกับภรรยาใหม่ คือ นางลม ส่วนเด็กชายกำพลถูกทอดทิ้งไว้ในชุมชนห้องแถวคุณแม่ทองจันทร์ เขาไดรับความช่วยเหลือจาก บรรดาชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในชุมชนห้องแถวแห่งนี้ จากเนื้อเรื่องย่อข้างต้นจะเห็นได้ว่า ตัวละครเด็กซึ่งเป็น ตัวละครสำคัญของเรื่องนี้ประสบชะตากรรมที่ดูเหมือนว่า เด็กอายุเพียง 5 ขวบไม่นาจะทนรับสภาพเช่นนี้ ได้ แต่ที่ว่าผู้เขียนเลือกใช้ ลักษณะเด่นของศิลปะการใช้ภาษาเข้ามานำเสนอเรื่องราว เมื่อจะสื่อถึงความ ทุกข์ยากลำบากของตัวละคร เดือนวาด พิมวนา มักจะเลือกใช้ภาษาที่สื่อความโดยการเสนอแนะผ่านการ ใช้สำนวนโวหาร และการใช้ภาพพจน์ ส่วนเรื่องราวเกี่ยวกับความสุขสำราญของตัวละคร เดือนวาด พิมวนา มักจะเลือกใช้ภาษาที่สื่อความโดยตรง ผ่านการใช้คำ และการใช้ประโยค สิ่งที่น่าสนใจซึ่งเห็นได้ชัดเจน คือ เดือนวาด พิมวนา เลือกใช้ภาษาสื่อความโดยการเสนอแนะ มากกว่า การสื่อความโดยตรง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้ภาพพจน์ ประเภทอุปมา และบุคลาธิษฐาน มัก จะปรากฏในเนื้อหา อาจเป็นเพราะว่าภาพรวมของเรื่องราวในนวนิยายเรื่องนี้ เป็นเรื่องของปัญหาสังคม ที่ ตัวละครอย่าง เด็กชายกำพล ช่างสำราญ อายุเพียง 5 ขวบ ต้องประสบชะตากรรม การใช้ภาพพจน์จะช่วย ให้ปัญหาต่างๆ ที่ตัวละครเด็ก ต้องเผชิญนั้นดูไม่หนักหนาสาหัสจนเกินไป ผู้อานเกิดจินตภาพ เห็นภาพที่ ชัดเจน ด้วยพลังของภาษาจึงเป็นการสื่ออารมณ์ขึ้น ยั่วล้อชะตากรรมของเด็กชายกำพล ช่างสำราญ ได้ อย่างน่าสนใจและชวนติดตามอ่านตลอดทั้งเรื่อง Researchers found that use of language, presentation of the story in each episode, then draw a month often start a story by PIM WANA use language that conveys freshness, cheerful, fun, and then continue to follow the story clear way of putting. The storyline and then present the media language through stories about the woes of the boy character he. Hotel technician tactics such as this presentation to help soothe the characters and readers at the same time – unfriendly at Vieng ganeshram son BOA. Mention of the month draw language arts "has been used language that conforms to the meat, the more interesting?" นอกจากนี้ผู้เขียนยังสร้างตัวละครอื่นให้มาเป็นคู่เปรียบกับเด็กชายกำพล ช่างสำราญ เช่น ชายหนุ่มสติไม่สมประกอบผู้หิวโหย และเด็กหญิงนัดดา ซึ่งเป็นเด็กกำพร้าฐานะยากจนอาศัยอยู่กับคุณตาฉ่อย ผู้มีขาซ้ายพิการ และคุณยายเจือซึ่งป่วยเป็นโรคเบาหวานผู้ซึ่งกำลังจะสูญเสียขาซ้ายเพราะโรคเบาหวาน เป็นต้น ทำให้ผู้อ่านรู้สึกว่า ปัญหาต่างๆ ที่ผ่านเข้ามาในชีวิตของเด็กชายกำพล ช่างสำราญ นั้นไม่ใช้เรื่องที่ เลวร้ายจนเกินไป เพราะเขาสามารถดูแลตัวเองได้ ดั่งที่เข้าได้กล่าวกับนายชงไว้ว่า “ผมเป็นกำพล กับเป็นผู้ปกครองของกำพลด้วย” และเข้ายังได้รับความช่วยเหลือจากบรรดาชาวบ้าน ซึ่งต่างกับชายหนุ่มสติไม่สมประกอบผู้หิวโหยที่ไม่มีใครดูแล นอกจากนี้เขายังได้รับทุนการศึกษาอีกด้วย และเขาไม่ได้มีภาระหน้าที่ที่ต้อง ดูแลใครเหมือนเด็กหญิงนัดดา เด็กชายกำพล ช่างสำราญ จึงไม่ได้มีชีวิตที่ลำบากจนเกินไปหากเปรียบกับ ตัวละครที่กล่าวมาข้างต้น ซึ่งสอดคล้องกับคำกล่าว ของประภัสสร เสวกุลที่ว่า นวนิยายเรื่อง ช่างสำราญ “เป็นนวนิยายที่เล็กแต่ใหญ่ ง่ายแต่งาม เจ็บปวดแต่ไม่รวดร้าว และขื่นขมแต่ไม่ขมขื่น” อีกสิ่งหนึ่งที่สำคัญ จะเห็นได้ว่าเดือนวาด พิมวนา สามารถเลือกนำพลังทางวรรณศิลป์เข้ามาสร้าง งานประพันธ์ซึ่งเป็นส่วนช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาสาระได้ง่ายยิ่งขึ้น ส่งผลให้เนื้อหาที่ดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่ พูดถึงความเศร้าโศก จึงไม่โศกเศร้า เพราะศิลปะการใช้ภาษาของ เดือนวาด พิมวนา ที่สื่อแสดงเรื่องธรรมดา ที่ไม่ธรรมดา ทำให้อ่านเกิดความรู้สึกตรงกันข้าม จะเห็นได้ว่าศิลปะการใช้ภาษาเข้ามามีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดเรื่องราวเหล่านี้เป็นอย่างยิ่ง ดังแนวคิดของสิริวรรณ นันทจันทูล ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ศิลปะการใช้ภาษาในวรรณกรรมไว้ว่า “นวนิยายเป็นวรรณกรรมบันเทิงคดีที่ถ่ายทอดลีลาการใช้ภาษาของผู้ประพันธ์ได้อย่างดียิ่ง หากผู้ประพันธ์มีศิลปะการใช้ภาษาได้อย่างยอดเยี่ยมก็จะแสดงลีลาภาษาที่โดดเด่น ทำให้ผู้อ่านได้รับอรรถรส และเกิดจินตภาพตามที่ผู้ประพันธ์ประสงค์” Language arts of the month drawing that appears in the novel Prize WANA PIM SI samran mechanic stories Wright. The creative life of the characters important boy he Bela is a mechanic life compelling reading and appreciation with the generosity of the villagers who live in the community room, mother Moon Gold row count as critical parts that make the novel "the mechanic samran" stand out. Represents the overall quality of the work done until this grandmother, vanilla. CD Wright Award and have always been impressed with the readers.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: