ผลกระทบของวิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์ต่อเศรษฐกิจไทย “วิกฤตซับไพรม์” หรือ “ การแปล - ผลกระทบของวิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์ต่อเศรษฐกิจไทย “วิกฤตซับไพรม์” หรือ “ อังกฤษ วิธีการพูด

ผลกระทบของวิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์ต่

ผลกระทบของวิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์ต่อเศรษฐกิจไทย
“วิกฤตซับไพรม์” หรือ “วิกฤติแฮมเบอร์เกอร์” ที่ขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อเกิดขึ้นในประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ จึงแพร่ขยายไปยังประเทศอื่นทั้งประเทศในยุโรป เอเชีย
ละตินอเมริกา และรวมถึงประเทศไทยด้วยที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์นี้ เมื่อสถาบันการเงินมีปัญหา สิ่งที่ตามมาคือ ปัญหาในการบริหารจัดการสินเชื่อสำหรับภาคธุรกิจและเอกชน ส่งผลให้ปัญหาขยายตัวและลุกลามไปถึงภาคธุรกิจอื่นๆ รวมถึงภาคเศรษฐกิจที่แท้จริงดังที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน จึงเป็นไปได้ยากที่ประเทศสหรัฐอเมริกาจะหลีกเลี่ยงภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งใหญ่นี้ได้
ผลกระทบของวิกฤตชับไพรม์ ที่มีต่อภาคเศรษฐกิจที่แท้จริงของประเทศไทยผ่านทาง 3 ช่องทาง อันได้แก่ ภาคการเงิน ตลาดทุน และการค้าระหว่างประเทศ
ช่องทางที่ 1 : ผลกระทบผ่านภาคการเงิน
ในปัจจุบัน แม้บางประเทศอาจมีกฎหมายคุ้มครองการเปิดเสรีภาคบริการทางการเงินอย่างเต็มที่ก็ตาม แต่ระบบการเงินโลกมีความเชื่อมโยงถึงกันหมด ในระดับมหภาค เมื่อเกิดภาวะการขาดสภาพคล่องอย่างหนัก และความปั่นป่วนในภาคการเงินของประเทศหนึ่ง สภาวการณ์ดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงประเทศอื่นด้วย ในขณะเดียวกัน ถ้าพิจารณาระบบเศรษฐกิจในระดับจุลภาค เนื่องจากภาคการเงินเป็นแหล่งเงินทุนที่สำคัญที่สุดสำหรับภาคธุรกิจและครัวเรือน หากภาคการเงินเกิดปัญหาขึ้นแล้ว ปัญหาดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อระดับการบริโภคและการลงทุน เรื่อยไปจนถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ในกรณีของประเทศไทยแล้ว หลังจากเกิดวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้งในปี พ.ศ.2540 แล้ว สถาบันการเงินของประเทศไทยดำเนินการอย่างระมัดระวังกับธุรกรรมที่มีความเสี่ยงสูง อีกทั้งมีการออกกฎระเบียบที่เข้มงวดสำหรับการกำกับดูแลการดำเนินการของสถาบันการเงิน และการที่สถาบันการเงินและนักลงทุนในประเทศไทยยังไม่คุ้นเคยกับตราสารอนุพันธ์มากนัก ปัจจัยเหล่านี้มีผลให้การดำเนินธุรกรรมและการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมทางการเงินมีจำนวนไม่มากนัก ซึ่งขณะปี พ.ศ.2551 สถาบันการเงินในประเทศไทยจึงยังมีความมั่นคงอยู่มาก มีการดำเนินนโยบายการปล่อยสินเชื่อและการลงทุนอย่างระมัดระวัง
ดังจะเห็นได้จากระดับการถือครองสินทรัพย์ต่างชาติ ที่มีสัดส่วนค่อนข้างต่ำ นับเป็นอัตราส่วนประมาณร้อยละ 10 รวมถึงสัดส่วนเงินกู้ต่อเงินฝากที่ต่ำ เมื่อเทียบกับก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางการเงิน และสัดส่วนของหนี้ที่คาดว่าจะสูญต่อสินทรัพย์ก็อยู่ในระดับที่ต่ำมาก ดังนั้น ปัญหาเดียวที่ภาคการเงินของประเทศไทยกำลังเผชิญในขณะนั้น คือ สภาพคล่องที่เริ่มตึงตัวขึ้น และต้นทุนของเงินทุนจากสถาบันการเงินที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากความตึงตัวของสภาพคล่องในตลาดการเงินโลกที่ทวีตัวสูงขึ้น ทั้งนี้ ระบบการเงินและสถาบันการเงินของประเทศไทยในขณะนั้น ยังมีสถานะเข้มแข็งต่อวิกฤตซับไพรม์ที่เกิดขึ้น เนื่องจากสถาบันการเงินของประเทศไทยได้บทเรียนจากวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้ง จึงมีนโยบายการปล่อยสินเชื่อและการลงทุนที่รัดกุม และยากที่วิกฤตซับไพรม์จะมีผลกระทบรุนแรงต่อสถาบันการเงินในประเทศไทย จึงสรุปได้ว่า วิกฤตซับไพรม์ที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยผ่านช่องทางภาคการเงินได้อย่างจำกัด
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The impact of the economic crisis the Thai Hamburger "Prime" or "MOP top wig, the crisis in the United States at" hamburgers. When it happens in the economic superpowers It spread to other countries including countries in Europe, Asia.With Latin America countries, including Thai and that are affected by this crisis. When a financial institution has a problem. What followed was a problem in the credit risk management for public and private business sectors. As a result, the problem has escalated and spread to other sectors including the real economy sector, as currently presented, it is going to be a difficult country United States will avoid recession this time. The impact of the top wig's host Prime towards the economic sector of the country's true Thai via 3 channels, namely the financial sector. Capital market and international trade. Channel 1: impact of the financial sector through the. ในปัจจุบัน แม้บางประเทศอาจมีกฎหมายคุ้มครองการเปิดเสรีภาคบริการทางการเงินอย่างเต็มที่ก็ตาม แต่ระบบการเงินโลกมีความเชื่อมโยงถึงกันหมด ในระดับมหภาค เมื่อเกิดภาวะการขาดสภาพคล่องอย่างหนัก และความปั่นป่วนในภาคการเงินของประเทศหนึ่ง สภาวการณ์ดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงประเทศอื่นด้วย ในขณะเดียวกัน ถ้าพิจารณาระบบเศรษฐกิจในระดับจุลภาค เนื่องจากภาคการเงินเป็นแหล่งเงินทุนที่สำคัญที่สุดสำหรับภาคธุรกิจและครัวเรือน หากภาคการเงินเกิดปัญหาขึ้นแล้ว ปัญหาดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อระดับการบริโภคและการลงทุน เรื่อยไปจนถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ในกรณีของประเทศไทยแล้ว หลังจากเกิดวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้งในปี พ.ศ.2540 แล้ว สถาบันการเงินของประเทศไทยดำเนินการอย่างระมัดระวังกับธุรกรรมที่มีความเสี่ยงสูง อีกทั้งมีการออกกฎระเบียบที่เข้มงวดสำหรับการกำกับดูแลการดำเนินการของสถาบันการเงิน และการที่สถาบันการเงินและนักลงทุนในประเทศไทยยังไม่คุ้นเคยกับตราสารอนุพันธ์มากนัก ปัจจัยเหล่านี้มีผลให้การดำเนินธุรกรรมและการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมทางการเงินมีจำนวนไม่มากนัก ซึ่งขณะปี พ.ศ.2551 สถาบันการเงินในประเทศไทยจึงยังมีความมั่นคงอยู่มาก มีการดำเนินนโยบายการปล่อยสินเชื่อและการลงทุนอย่างระมัดระวัง ดังจะเห็นได้จากระดับการถือครองสินทรัพย์ต่างชาติ ที่มีสัดส่วนค่อนข้างต่ำ นับเป็นอัตราส่วนประมาณร้อยละ 10 รวมถึงสัดส่วนเงินกู้ต่อเงินฝากที่ต่ำ เมื่อเทียบกับก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางการเงิน และสัดส่วนของหนี้ที่คาดว่าจะสูญต่อสินทรัพย์ก็อยู่ในระดับที่ต่ำมาก ดังนั้น ปัญหาเดียวที่ภาคการเงินของประเทศไทยกำลังเผชิญในขณะนั้น คือ สภาพคล่องที่เริ่มตึงตัวขึ้น และต้นทุนของเงินทุนจากสถาบันการเงินที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากความตึงตัวของสภาพคล่องในตลาดการเงินโลกที่ทวีตัวสูงขึ้น ทั้งนี้ ระบบการเงินและสถาบันการเงินของประเทศไทยในขณะนั้น ยังมีสถานะเข้มแข็งต่อวิกฤตซับไพรม์ที่เกิดขึ้น เนื่องจากสถาบันการเงินของประเทศไทยได้บทเรียนจากวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้ง จึงมีนโยบายการปล่อยสินเชื่อและการลงทุนที่รัดกุม และยากที่วิกฤตซับไพรม์จะมีผลกระทบรุนแรงต่อสถาบันการเงินในประเทศไทย จึงสรุปได้ว่า วิกฤตซับไพรม์ที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยผ่านช่องทางภาคการเงินได้อย่างจำกัด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ผลกระทบของวิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์ต่อเศรษฐกิจไทย
“วิกฤตซับไพรม์” หรือ “วิกฤติแฮมเบอร์เกอร์” ที่ขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อเกิดขึ้นในประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ จึงแพร่ขยายไปยังประเทศอื่นทั้งประเทศในยุโรป เอเชีย
ละตินอเมริกา และรวมถึงประเทศไทยด้วยที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์นี้ เมื่อสถาบันการเงินมีปัญหา สิ่งที่ตามมาคือ ปัญหาในการบริหารจัดการสินเชื่อสำหรับภาคธุรกิจและเอกชน ส่งผลให้ปัญหาขยายตัวและลุกลามไปถึงภาคธุรกิจอื่นๆ รวมถึงภาคเศรษฐกิจที่แท้จริงดังที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน จึงเป็นไปได้ยากที่ประเทศสหรัฐอเมริกาจะหลีกเลี่ยงภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งใหญ่นี้ได้
ผลกระทบของวิกฤตชับไพรม์ ที่มีต่อภาคเศรษฐกิจที่แท้จริงของประเทศไทยผ่านทาง 3 ช่องทาง อันได้แก่ ภาคการเงิน ตลาดทุน และการค้าระหว่างประเทศ
ช่องทางที่ 1 : ผลกระทบผ่านภาคการเงิน
ในปัจจุบัน แม้บางประเทศอาจมีกฎหมายคุ้มครองการเปิดเสรีภาคบริการทางการเงินอย่างเต็มที่ก็ตาม แต่ระบบการเงินโลกมีความเชื่อมโยงถึงกันหมด ในระดับมหภาค เมื่อเกิดภาวะการขาดสภาพคล่องอย่างหนัก และความปั่นป่วนในภาคการเงินของประเทศหนึ่ง สภาวการณ์ดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงประเทศอื่นด้วย ในขณะเดียวกัน ถ้าพิจารณาระบบเศรษฐกิจในระดับจุลภาค เนื่องจากภาคการเงินเป็นแหล่งเงินทุนที่สำคัญที่สุดสำหรับภาคธุรกิจและครัวเรือน หากภาคการเงินเกิดปัญหาขึ้นแล้ว ปัญหาดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อระดับการบริโภคและการลงทุน เรื่อยไปจนถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ในกรณีของประเทศไทยแล้ว หลังจากเกิดวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้งในปี พ.ศ.2540 แล้ว สถาบันการเงินของประเทศไทยดำเนินการอย่างระมัดระวังกับธุรกรรมที่มีความเสี่ยงสูง อีกทั้งมีการออกกฎระเบียบที่เข้มงวดสำหรับการกำกับดูแลการดำเนินการของสถาบันการเงิน และการที่สถาบันการเงินและนักลงทุนในประเทศไทยยังไม่คุ้นเคยกับตราสารอนุพันธ์มากนัก ปัจจัยเหล่านี้มีผลให้การดำเนินธุรกรรมและการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมทางการเงินมีจำนวนไม่มากนัก ซึ่งขณะปี พ.ศ.2551 สถาบันการเงินในประเทศไทยจึงยังมีความมั่นคงอยู่มาก มีการดำเนินนโยบายการปล่อยสินเชื่อและการลงทุนอย่างระมัดระวัง
ดังจะเห็นได้จากระดับการถือครองสินทรัพย์ต่างชาติ ที่มีสัดส่วนค่อนข้างต่ำ นับเป็นอัตราส่วนประมาณร้อยละ 10 รวมถึงสัดส่วนเงินกู้ต่อเงินฝากที่ต่ำ เมื่อเทียบกับก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางการเงิน และสัดส่วนของหนี้ที่คาดว่าจะสูญต่อสินทรัพย์ก็อยู่ในระดับที่ต่ำมาก ดังนั้น ปัญหาเดียวที่ภาคการเงินของประเทศไทยกำลังเผชิญในขณะนั้น คือ สภาพคล่องที่เริ่มตึงตัวขึ้น และต้นทุนของเงินทุนจากสถาบันการเงินที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากความตึงตัวของสภาพคล่องในตลาดการเงินโลกที่ทวีตัวสูงขึ้น ทั้งนี้ ระบบการเงินและสถาบันการเงินของประเทศไทยในขณะนั้น ยังมีสถานะเข้มแข็งต่อวิกฤตซับไพรม์ที่เกิดขึ้น เนื่องจากสถาบันการเงินของประเทศไทยได้บทเรียนจากวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้ง จึงมีนโยบายการปล่อยสินเชื่อและการลงทุนที่รัดกุม และยากที่วิกฤตซับไพรม์จะมีผลกระทบรุนแรงต่อสถาบันการเงินในประเทศไทย จึงสรุปได้ว่า วิกฤตซับไพรม์ที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยผ่านช่องทางภาคการเงินได้อย่างจำกัด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The impact of the crisis on economy hamburger
."วิกฤตซับไพรม์" or "hamburger crisis" occurred in the United States. When that happens in the economic growth. It spread to other countries and countries in Europe, Asia
.Latin America and Thailand has been affected by the crisis. When financial problems. What followed. Problems in management of credit for the business sector and the private sector.The real sector as shown in the present. It's impossible that the United States will avoid a recession this big!The impact of the crisis urges prime. The real sector of through 3 channels, including the financial sector, the market cost and international trade channels, 1:
The impact through the financial sector
.Currently, although some countries may have legal protection to liberalise the financial sector, อย่างเต็มที่ก็ตาม But the world financial system are linked to each other at the macro level, when the occurrence of the ขาดสภาพคล่องอย่างหนัก.Situation would continue to another country. At the same time, considering the economic system at the micro level. Due to the financial sector is the most important source for businesses and households.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: