บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1 ) พัฒนาการจัดการเรียนรู การแปล - บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1 ) พัฒนาการจัดการเรียนรู อังกฤษ วิธีการพูด

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประ

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1 ) พัฒนาการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวก 6 ใบและแผนผังความคิดให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80 2) ศึกษาค่าดัชนีผลการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวก 6 ใบและแผนผังความคิด 3)เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน โดยใช้การจัดการเรียนรู้เทคนิคการคิดแบบหมวก 6 ใบและแผนผังความคิด 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้เทคนิคการคิดแบบหมวก 6 ใบและแผนผังความคิด กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนชุมชนนาเรียนวิทยาคม ตำบลสามัคคี อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสินธุ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .917 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า
1. การจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวก 6 ใบและแผนผังความคิด มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 87.71/82.07 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ร้อยละ 80/80
2. ค่าดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวก 6 ใบและแผนผังความคิด เท่ากับ 0.7181 แสดงว่า ผู้เรียนมีความก้าวหน้าในการเรียน คิดเป็นร้อยละ 71.81
3. การจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวก 6 ใบและแผนผังความคิด มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4. ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคหมวก 6 ใบและแผนผังความคิดประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.34 ; S.D. = 0.70)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1 ) พัฒนาการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวก 6 ใบและแผนผังความคิดให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80 2) ศึกษาค่าดัชนีผลการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวก 6 ใบและแผนผังความคิด 3)เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน โดยใช้การจัดการเรียนรู้เทคนิคการคิดแบบหมวก 6 ใบและแผนผังความคิด 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้เทคนิคการคิดแบบหมวก 6 ใบและแผนผังความคิด กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนชุมชนนาเรียนวิทยาคม ตำบลสามัคคี อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสินธุ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .917 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Study results showed that 1. learning management and local history Students in grade 5, using the techniques of thinking cap, 6 and a powerful idea maps (E1/E2) 82.07, which is equivalent to 87.71/criteria defined. 80/80 percent. 2. the index value the effectiveness of learning management and local history. Students in grade 5, using the techniques and ideas form 6 Cap idea map is equal to that is 0.7181 the progress in studying 71.81 percent. 3. การจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวก 6 ใบและแผนผังความคิด มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคหมวก 6 ใบและแผนผังความคิดประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.34 ; S.D. = 0.70)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Abstract
.The purpose of this study was to 1). Develop knowledge management local history of grade 5 technique รคิ type cap 6 leaves and mind mapping efficiency 80 / 80 2).5 studied using the techniques of thinking cap 6 leaves and schematic idea. 3) the learning achievement of local history of grade 5 between pretest and posttest.6 leaves and mind mapping 4) to study the satisfaction of students on learning the history of local grade 5 using learning management thinking techniques a cap 6 leaves and layout ideas. Target groups.5 fields Community School District School in harmony, Rong Kham District Kalasin province. The office of Kalasin educational 1 number 30 people. Tools used in the data scaleEqual.917 statistic, frequency, mean, standard deviation,
%. The results showed that the 1
.Learning management of local history. Students 5 technique thinking cap 6 leaves and mind mapping, effective (E1 / E2) was 87.71 / 82.07 which meet the criteria. Percentage 80 / 80
2.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: