1.แก่งคุดคู้ อยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงคานประมาณ 3 กิโลมเตร แก่งคุดคู้ เ การแปล - 1.แก่งคุดคู้ อยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงคานประมาณ 3 กิโลมเตร แก่งคุดคู้ เ อังกฤษ วิธีการพูด

1.แก่งคุดคู้ อยู่ห่างจากตัวเมืองเชี

1.แก่งคุดคู้
อยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงคานประมาณ 3 กิโลมเตร แก่งคุดคู้ เป็นแก่งหินขนาดหใญ่ขวางอยู่กลางลำน้ำโขงห่างจาก ตัวอำเภอเชียงคานประมาณ 3 กิโลเมตร ประกอบด้วยหินก้อนใหญ่ ๆ เป็นจำนวนมาก ตัวแก่งกว้างใหญ่เกือบจรด สองฝั่งแม่น้ำโขง มีกระแสน้ำไหลผ่านไปเพียงช่องแคบ ๆ ใกล้ฝั่งทะเลไทยซึ่ง กระแสน้ำเชี่ยวกราก เวลาที่เหมาะ ที่จะมาชมแห่งคุดคู้ที่สุดคือ เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นเวลาที่น้ำแห้ง มองเห็น เกาะแก่งต่าง ๆ ชัดเจน บริเวณแก่ง มีร้านอาหารจำหน่ายมากมาย
2.ชมทะเลหมอกภูทอก
จุดชมทัศนีย์ภาพเมืองเชียงคาน และทะเลหมอก สวยงามริมฝั่งโขงที่แปลกตา หาดูได้ยากยิ่ง จากเชียงคาน ใช้ทาง หลวงหมายเลข 211 ทางไป อ.ปากชม ผ่านแยก “แก่งคุดคู้”ไม่ไกลจะมีแยกทางขวามือ (สังเกตุป้าย สถานีทวนสัญญาณ 483) ระยะทางเข้าไปประมาณ 5 ก.ม. มีถนนสะดวกขึ้นถึงยอดภูทอก นอกจากจะรอ ชมพระอาทิตย์ และทะเลหมอกได้สวยงามมาก ในช่วงฤดูหนาวแล้ว ยังเป็นจุดชมพระอาทิตย์ตกได้อย่างงดงาม ต่อด้วยแสงสีระยิบระยับยามค่ำของเมืองเชียงคาน ทิวเขาสลับซับซ้อนสุดตา ไกลถึงฝั่งลาว เหมาะยิ่งสำหรับผู้ที่ หลง ไหลการถ่ายภาพมุมกว้าง การเดินทางจากตัวอำเภอเชียงคานนักท่องเที่ยวสามารถนั่งรถสายรอบเมืองไป แก่งคุดคู้ได้ซึ่งห่าง จากตัวอำเภอเชียงคานประมาณ 3 กิโลเมตร
3.หมู่บ้านวัฒนธรรมไทดำ
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2448 มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านนาป่าหนาด ปัจจุบันยังมีการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทดำ มีบ้านที่สร้างขึ้น ตามแบบเอกลักษณ์ดั้งเดิมของชาวไทดำ รวมทั้งเครื่องใช้ต่างๆในชีวิตประจำวัน ที่แสดงให้เห็นถึงชีวิตความเป็น อยู่ในอดีตและยังมีการรวมกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองของชาวบ้าน โดยสามารถชมการทอผ้าและเลือกซื้อสินค้าเป็น ของฝากได้ นักท่องเที่ยวที่สนใจที่จะ สัมผัสชีวิตความเป็นอยู่ชาวไทดำแบบโฮมสเตย์ สามารถติดต่อ ได้ที่ สมาคมอนุรักษ์วัฒนธรรม ไทดำก่อนล่วงหน้าประมาณ 1 สัปดาห์ โทร. 08 1048 2000 พัก 1 คืน อาหาร 2 มื้อ ราคา 300 บาท/คน การเดินทาง ใช้เส้นทางเลย-เชียงคานไปประมาณ 38 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวขวาเข้า ทางไปบ้าน นาสีจนถึงบ้านาป่าหนาดอีกประมาณ 10 กิโลเมตร พระใหญ่ภูคกงิ้วเป็นพระพุทธรูปปางลีลา ประทานพรหล่อด้วย ไฟเบอร์ผสมเรซิ่นสีทองทั้งองค์ สูง 19 เมตร ตัวฐานกว้าง 7.2 เมตร สร้างขึ้นโดยกองทัพภาคที่ 2 และประชาชน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เนื่องใน วโรกาสมหา มงคลเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวครบ 6 รอบ เมื่อ พ.ศ. 2542 และ ในมหา มงคลแห่งราชพิธีราชาภิเษก ครบ 50 ปี พ.ศ. 2543 สร้างแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2544 บริเวณโดยรอบ สามารถชมทัศนียภาพที่สวยงามของแม่น้ำโขง และประเทศลาวได้ การเดินทาง จากตัวเมืองเลยใช้ทางหลวง หมายเลข 201 (เลย-เชียงคาน) ไป 47 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวซ้ายบริเวณสามแยกตรงไปจนถึงบ้านท่าดีหมี่ และเลี้ยวขวาที่โรงเรียน บ้านท่าดีหมีไปอีกประมาณ 2 กิโลเมตร
4. วัดพระพุทธบาทภูควายเงิน
อยู่ที่บ้านผาแบ่น ตำบลบุฮม การเดินทาง ใช้เส้นทางสายเชียงคาน-ปากชม ระยะทาง 6 กิโลเมตร ถึงหมู่บ้าน ผาแบ่นมีทางแยกเข้าบ้านอุมุง 3 กิโลเมตร จะถึงทางขึ้นเขาเป็นทางลูกรังระยะทาง 1 กิโลเมตร พระพุทธบาท ภูควายเงิน เป็นรอยพระพุทธบาทยาวประมาณ 120 เซนติเมตร กว้าง 65 เซนติเมตร ประดิษฐานบนหินลับมีด ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานเมื่อพ.ศ. 2478 รอยพระพุทธบาทภูควายเงินเป็นที่เคารพ สักการะของ ชาวบ้านในแถบนี้มาก สมัยก่อนครั้งที่การเดินทางมานมัสการยังลำบาก เชื่อกันว่าคนที่มีบุญวาสนา เท่านั้นจึงจะ เดินทางมากราบไหว้ได้ คนที่วาสนาไม่ถึงจะต้องมีเหตุให้มาไม่ได้ ทั้งที่ตั้งใจไว้อย่างเต็มที่ก็ตาม บางคนก็หลงทาง ทุกปีในวันขึ้น15 ค่ำ เดือน 3 ทางวัดจะจัดงานสมโภชประจำปีถือเป็นงานสำคัญของชาวบ้านในแถบนี้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
1.แก่งคุดคู้ อยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงคานประมาณ 3 กิโลมเตรแก่งคุดคู้เป็นแก่งหินขนาดหใญ่ขวางอยู่กลางลำน้ำโขงห่างจากตัวอำเภอเชียงคานประมาณ 3 กิโลเมตรประกอบด้วยหินก้อนใหญ่ๆ เป็นจำนวนมากตัวแก่งกว้างใหญ่เกือบจรดสองฝั่งแม่น้ำโขงมีกระแสน้ำไหลผ่านไปเพียงช่องแคบๆ ใกล้ฝั่งทะเลไทยซึ่งกระแสน้ำเชี่ยวกรากเวลาที่เหมาะที่จะมาชมแห่งคุดคู้ที่สุดคือเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคมซึ่งเป็นเวลาที่น้ำแห้งมองเห็นเกาะแก่งต่างๆ ชัดเจนบริเวณแก่งมีร้านอาหารจำหน่ายมากมาย2.ชมทะเลหมอกภูทอกจุดชมทัศนีย์ภาพเมืองเชียงคานและทะเลหมอกสวยงามริมฝั่งโขงที่แปลกตาหาดูได้ยากยิ่งจากเชียงคานใช้ทางหลวงหมายเลข 211 ทางไปอ.ปากชมผ่านแยก "แก่งคุดคู้" ไม่ไกลจะมีแยกทางขวามือ (สังเกตุป้ายสถานีทวนสัญญาณ 483) ระยะทางเข้าไปประมาณ 5 ก.ม. มีถนนสะดวกขึ้นถึงยอดภูทอกนอกจากจะรอชมพระอาทิตย์และทะเลหมอกได้สวยงามมากในช่วงฤดูหนาวแล้วยังเป็นจุดชมพระอาทิตย์ตกได้อย่างงดงามต่อด้วยแสงสีระยิบระยับยามค่ำของเมืองเชียงคานทิวเขาสลับซับซ้อนสุดตาไกลถึงฝั่งลาวเหมาะยิ่งสำหรับผู้ที่หลงไหลการถ่ายภาพมุมกว้างการเดินทางจากตัวอำเภอเชียงคานนักท่องเที่ยวสามารถนั่งรถสายรอบเมืองไปแก่งคุดคู้ได้ซึ่งห่างจากตัวอำเภอเชียงคานประมาณ 3 กิโลเมตร3.หมู่บ้านวัฒนธรรมไทดำตั้งแต่ปีพ.ศ. 2448 มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านนาป่าหนาดปัจจุบันยังมีการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทดำมีบ้านที่สร้างขึ้นตามแบบเอกลักษณ์ดั้งเดิมของชาวไทดำรวมทั้งเครื่องใช้ต่างๆในชีวิตประจำวันที่แสดงให้เห็นถึงชีวิตความเป็นอยู่ในอดีตและยังมีการรวมกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองของชาวบ้านโดยสามารถชมการทอผ้าและเลือกซื้อสินค้าเป็นของฝากได้นักท่องเที่ยวที่สนใจที่จะสัมผัสชีวิตความเป็นอยู่ชาวไทดำแบบโฮมสเตย์สามารถติดต่อได้ที่สมาคมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทดำก่อนล่วงหน้าประมาณ 1 สัปดาห์เบอร์ 08 1048 2000 พัก 1 คืนอาหาร 2 มื้อราคา 300 บาท/คนการเดินทางใช้เส้นทางเลย-เชียงคานไปประมาณ 38 กิโลเมตรแล้วเลี้ยวขวาเข้าทางไปบ้านนาสีจนถึงบ้านาป่าหนาดอีกประมาณ 10 กิโลเมตรพระใหญ่ภูคกงิ้วเป็นพระพุทธรูปปางลีลาประทานพรหล่อด้วยไฟเบอร์ผสมเรซิ่นสีทองทั้งองค์สูง 19 เมตรตัวฐานกว้าง 7.2 เมตรสร้างขึ้นโดยกองทัพภาคที่ 2 และประชาชนเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถเนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวครบ 6 รอบเมื่อพ.ศ. 2542 และในมหามงคลแห่งราชพิธีราชาภิเษกครบ 50 ปีพ.ศ. 2543 สร้างแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2544 บริเวณโดยรอบสามารถชมทัศนียภาพที่สวยงามของแม่น้ำโขงและประเทศลาวได้การเดินทางจากตัวเมืองเลยใช้ทางหลวงหมายเลข 201 (เลย-เชียงคาน) ไป 47 กิโลเมตรแล้วเลี้ยวซ้ายบริเวณสามแยกตรงไปจนถึงบ้านท่าดีหมี่และเลี้ยวขวาที่โรงเรียนบ้านท่าดีหมีไปอีกประมาณ 2 กิโลเมตร4. วัดพระพุทธบาทภูควายเงิน อยู่ที่บ้านผาแบ่นตำบลบุฮมการเดินทางใช้เส้นทางสายเชียงคานปากชมระยะทาง 6 กิโลเมตรถึงหมู่บ้านผาแบ่นมีทางแยกเข้าบ้านอุมุง 3 กิโลเมตรจะถึงทางขึ้นเขาเป็นทางลูกรังระยะทาง 1 กิโลเมตรพระพุทธบาทภูควายเงินเป็นรอยพระพุทธบาทยาวประมาณ 120 เซนติเมตรกว้าง 65 เซนติเมตรประดิษฐานบนหินลับมีดได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานเมื่อพ.ศ 2478 รอยพระพุทธบาทภูควายเงินเป็นที่เคารพสักการะของชาวบ้านในแถบนี้มากสมัยก่อนครั้งที่การเดินทางมานมัสการยังลำบากเชื่อกันว่าคนที่มีบุญวาสนาเท่านั้นจึงจะเดินทางมากราบไหว้ได้คนที่วาสนาไม่ถึงจะต้องมีเหตุให้มาไม่ได้ทั้งที่ตั้งใจไว้อย่างเต็มที่ก็ตามบางคนก็หลงทาง ทุกปีในวันขึ้น15 ค่ำเดือน 3 ทางวัดจะจัดงานสมโภชประจำปีถือเป็นงานสำคัญของชาวบ้านในแถบนี้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

3 กิโลมเตรแก่งคุดคู้ ตัวอำเภอเชียงคานประมาณ 3 กิโลเมตรประกอบด้วยหินก้อนใหญ่ ๆ เป็นจำนวนมากตัวแก่งกว้างใหญ่เกือบจรดสองฝั่งแม่น้ำโขงมีกระแสน้ำไหลผ่านไปเพียงช่องแคบ ๆ ใกล้ฝั่งทะเลไทยซึ่งกระแสน้ำเชี่ยวกรากเวลาที่เหมาะที่จะมาชมแห่งคุดคู้ที่สุดคือ เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคมซึ่งเป็นเวลาที่น้ำแห้งมองเห็นเกาะแก่งต่าง ๆ ชัดเจนบริเวณแก่ง และทะเลหมอกสวยงามริมฝั่งโขงที่แปลกตาหาดูได้ยากยิ่งจากเชียงคานใช้ทางหลวงหมายเลข 211 ทางไปอ. ปากชมผ่านแยก (สังเกตุป้ายสถานีทวนสัญญาณ 483) ระยะทางเข้าไปประมาณ 5 ก.ม. มีถนนสะดวกขึ้นถึงยอดภูทอกนอกจากจะรอชมพระอาทิตย์และทะเลหมอกได้สวยงามมากในช่วงฤดูหนาวแล้ว ทิวเขาสลับซับซ้อนสุดตาไกลถึงฝั่งลาวเหมาะยิ่งสำหรับผู้ที่หลงไหลการถ่ายภาพมุมกว้าง แก่งคุดคู้ได้ซึ่งห่างจากตัวอำเภอเชียงคานประมาณ 3 พ.ศ. 2448 มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านนาป่าหนาด มีบ้านที่สร้างขึ้นตามแบบเอกลักษณ์ดั้งเดิมของชาวไทดำ ที่แสดงให้เห็นถึงชีวิตความเป็น ของฝากได้นักท่องเที่ยวที่สนใจที่จะ สามารถติดต่อได้ที่สมาคมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทดำก่อนล่วงหน้าประมาณ 1 สัปดาห์โทร 08 1048 2000 พัก 1 คืนอาหาร 2 มื้อราคา 300 บาท / คนการเดินทางใช้เส้นทางเลย - เชียงคานไปประมาณ 38 กิโลเมตรแล้วเลี้ยวขวาเข้าทางไปบ้านนาสีจนถึงบ้านาป่าหนาดอีกประมาณ 10 กิโลเมตร ประทานพรหล่อด้วยไฟเบอร์ผสมเรซิ่นสีทองทั้งองค์สูง 19 เมตรตัวฐานกว้าง 7.2 เมตรสร้างขึ้นโดยกองทัพภาคที่ 2 และประชาชนเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสมหา 6 รอบเมื่อ พ.ศ. 2542 และในมหามงคลแห่งราชพิธีราชาภิเษกครบ 50 ปี พ.ศ. 2543 สร้างแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2544 บริเวณโดยรอบ และประเทศลาวได้การเดินทางจากตัวเมืองเลยใช้ทางหลวงหมายเลข 201 (เลย - เชียงคาน) ไป 47 กิโลเมตร และเลี้ยวขวาที่โรงเรียนบ้านท่าดีหมีไปอีกประมาณ 2 กิโลเมตร4 ตำบลบุฮมการเดินทางใช้เส้นทางสายเชียงคาน - ปากชมระยะทาง 6 กิโลเมตรถึงหมู่บ้านผาแบ่นมีทางแยกเข้าบ้านอุมุง 3 กิโลเมตร 1 กิโลเมตรพระพุทธบาทภูควายเงินเป็นรอยพระพุทธบาทยาวประมาณ 120 เซนติเมตรกว้าง 65 เซนติเมตรประดิษฐานบนหินลับมีด 2478 สักการะของชาวบ้านในแถบนี้มาก เชื่อกันว่าคนที่มีบุญวาสนาเท่านั้นจึงจะเดินทางมากราบไหว้ได้ ทั้งที่ตั้งใจไว้อย่างเต็มที่ก็ตามบางคนก็หลงทางทุกปีในวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 3





การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
1 . แก่งคุดคู้
อยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงคานประมาณ 3 กิโลมเตรแก่งคุดคู้เป็นแก่งหินขนาดหใญ่ขวางอยู่กลางลำน้ำโขงห่างจากตัวอำเภอเชียงคานประมาณ 3 กิโลเมตรประกอบด้วยหินก้อนใหญ่จะเป็นจำนวนมากตัวแก่งกว้างใหญ่เกือบจรดมีกระแสน้ำไหลผ่านไปเพียงช่องแคบจะใกล้ฝั่งทะเลไทยซึ่งกระแสน้ำเชี่ยวกรากเวลาที่เหมาะที่จะมาชมแห่งคุดคู้ที่สุดคือเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคมซึ่งเป็นเวลาที่น้ำแห้งมองเห็นเกาะแก่งต่างจะชัดเจนมีร้านอาหารจำหน่ายมากมาย
2 . ชมทะเลหมอกภูทอก
จุดชมทัศนีย์ภาพเมืองเชียงคานและทะเลหมอกสวยงามริมฝั่งโขงที่แปลกตาหาดูได้ยากยิ่งจากเชียงคานใช้ทางหลวงหมายเลข 211 ทางไป Admiralปากชมผ่านแยก " แก่งคุดคู้ " ไม่ไกลจะมีแยกทางขวามือ ( สังเกตุป้ายสถานีทวนสัญญาณ 483 ) ระยะทางเข้าไปประมาณ 5 . . แอง .มีถนนสะดวกขึ้นถึงยอดภูทอกนอกจากจะรอชมพระอาทิตย์และทะเลหมอกได้สวยงามมากในช่วงฤดูหนาวแล้วยังเป็นจุดชมพระอาทิตย์ตกได้อย่างงดงามต่อด้วยแสงสีระยิบระยับยามค่ำของเมืองเชียงคานทิวเขาสลับซับซ้อนสุดตาเหมาะยิ่งสำหรับผู้ที่หลงไหลการถ่ายภาพมุมกว้างการเดินทางจากตัวอำเภอเชียงคานนักท่องเที่ยวสามารถนั่งรถสายรอบเมืองไปแก่งคุดคู้ได้ซึ่งห่างจากตัวอำเภอเชียงคานประมาณกิโลเมตร
33 . หมู่บ้านวัฒนธรรมไทดำ
ตั้งแต่ปีพ . ศ .2448 มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านนาป่าหนาดปัจจุบันยังมีการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทดำมีบ้านที่สร้างขึ้นตามแบบเอกลักษณ์ดั้งเดิมของชาวไทดำรวมทั้งเครื่องใช้ต่างๆในชีวิตประจำวันที่แสดงให้เห็นถึงชีวิตความเป็นโดยสามารถชมการทอผ้าและเลือกซื้อสินค้าเป็นของฝากได้นักท่องเที่ยวที่สนใจที่จะสัมผัสชีวิตความเป็นอยู่ชาวไทดำแบบโฮมสเตย์สามารถติดต่อได้ที่สมาคมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทดำก่อนล่วงหน้าประมาณ 1 สัปดาห์โทร .
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: