โลมา (Dolphin) เป็นสัตว์เลือดอุ่นและเลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ในน้ำ เ การแปล - โลมา (Dolphin) เป็นสัตว์เลือดอุ่นและเลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ในน้ำ เ อังกฤษ วิธีการพูด

โลมา (Dolphin) เป็นสัตว์เลือดอุ่นแล

โลมา (Dolphin) เป็นสัตว์เลือดอุ่นและเลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ในน้ำ เชื้อสายใกล้เคียงกับวาฬ (Whale) ซึ่งมีหลักฐานว่าวิวัฒนาการมาจากสัตว์บกจำพวก Mesonyx ซึ่งมีรูปร่างคล้ายหมาผสมหนู เมื่อประมาณ 45 ล้านปีมาแล้ว แบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ คือ ชนิดที่ไม่มีฟันซึ่งจะมีแผงกรองทำหน้าที่กรองอาหาร และชนิดที่มีฟัน

โลมามีการปรับตัวหลายอย่างก็เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในน้ำที่ใช้ดำรงชิวิต เช่น มีวิวัฒนาการรูปร่างให้เพรียวทำให้สามารถว่ายน้ำได้เร็ว และเนื่องจากยังใช้ปอดในการหายใจ จมูกหรือช่องหายใจจึงเลื่อนไปอยู่บนสุดของส่วนหัว เพื่อสะดวกในการหายใจ ท่อหายใจกับช่องปากแยกกันเพื่อสะดวกในการกินอาหารใต้น้ำ มีการปรับปรุงระบบควบคุมอุณหภูมิในร่างกายให้อบอุ่นทดแทนขน เนื่องจากไม่เหมาะสมในการใช้งานใต้น้ำ โดยการมีลักษณะลำตัวเรียวคล้ายตอร์ปิโดเพื่อการลดพื้นที่ที่สัมผัสน้ำ การปรับปรุงเพิ่มชั้นไขมันใต้ผิวหนังให้หนาขึ้นเป็นฉนวนกันความร้อน ในชั้นไขมันจะมีเส้นเลือดหล่อเลี้ยงน้อยป้องกันการแลกเปลี่ยนอุณหภูมิกับน้ำ ระบบเส้นเลือดดำจะถูกล้อมด้วยเส้นเลือดแดงซึ่งมีอุณหภูมิสูงกว่า นอกจากนั้นการปรับตัวโดยลดอัตราการหายใจลง เป็นการลดการสูญเสียความร้อนที่ออกมากับอากาศ และเป็นผลให้โลมาดำน้ำได้นานขึ้น.

โลมาส่วนใหญ่ออกลูกโดยส่วนหางออกมาก่อน เพื่อให้ส่วนของช่องหายใจเป็นส่วนสุดท้ายที่ออกมาสัมผัสน้ำทะเล และสามารถว่ายน้ำได้ทันที โดยโผล่ขึ้นมาสูดอากาศหายใจครั้งแรกในทันทีที่คลอด ลูกแรกเกิดมีขนาดใหญ่ประมาณ 40% ของตัวแม่ ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการรักษาอุณหภูมิในร่างกาย

ลักษณะโลมา มีอวัยวะต่างๆ เหมือนกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั่วไป เพียงแต่ละส่วนของอวัยวะ ปรับเปลี่ยนต่างไปจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั่วไป คือ
ตาโลมามีดวงตาแจ่มใส เหมือนตาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีเปลือกตาปิดได้ และในเวลา กลางคืนตาจะเป็นประกาย เหมือนตาแมวสามารถมองเห็นได้ไกลถึง 50 ฟุต เมื่ออยู่ในอากาศ ตาของโลมาไม่มีเมือกหุ้มเหมือนตาของปลาทั่วไป

จมูกโลมามีไว้หายใจ ตั้งอยู่กลางกระหม่อม เพื่อให้สะดวกต่อการเชิดหัวขึ้นหายใจเหนือน้ำ จากจมูกมีท่อหายใจต่อลงมาถึงปอดในตัว จึงไม่จำเป็นต้องให้น้ำผ่านเหงือกเข้าไปในปอดเพื่อช่วยหายใจเหมือนปลาทั่วไป

หูจะอยู่ที่ด้านข้างองหัวมีรูเล็กจิ๋วติดอยู่ หูของโลมามีประสิทธิภาพสูงมาก รับคลื่นเสียงใต้น้ำได้อย่างดีเยี่ยม โดยเฉพาะกับภาษาที่โลมาสื่อสารกันด้วยเสียงที่มีคลื่นความถี่สูง การสื่อสารโลมามีสำเนียงเสียงภาษาประมาณ 15 ล้านคำ เป็นสัตว์ที่มีสัดส่วนของสมองมากกว่าสัตว์ชนิดอื่นๆ เวลาที่โลมาส่งเสียงออกมาเสมือนมีคลื่นพิเศษ เรียกว่าคลื่น Ultrasonic ซึ่งคลื่นชนิดนี้ใช้ในการสื่อสารกันเองในฝูงโลมา เมื่ออยู่ร่วมกันหรือเวลาพลัดหลงจากฝูง

สีผิวของโลมาแต่ละชนิดจะต่างกัน ส่วนมากจะออกไปในโทนสีเทา ตั้งแต่เข้มเกือบดำจนกระทั่งถึงเกือบขาว แต่โดยทั่วไปโลมาจะมีสีผิว Two tone color คือมีสองสีตัดกัน ด้านบนสีเทาเข้ม ด้านล่างจะมีสีเกือบขาว เพราะเมื่อมองจากด้านบน สีจะกลืนกับสีน้ำทะเล ถ้ามองจากด้านล่างขึ้นไปส่วนของสีขาวจะกลืนเข้ากับแสงแดดเหนือผิวน้ำได้ดี ทั้งนี้เพื่อใช้พรางตัวจากศัตรูในทะเล

ในประเทศไทยมีโลมาที่เรารู้จักกัน 2 ชนิด คือ โลมาหัวบาตร และ โลมาปากขวด อาจยังสามารถพบโลมาอยู่ในแม่น้ำได้ด้วย เช่น ในแม่น้ำคงคาที่ประเทศอินเดีย และในแม่น้ำโขง เป็นโลมาหัวบาตรน้ำจืด

โลมาอิรวดีหรือโลมาหัวบาตร (Irrawaddy dolphin) เป็นโลมาชนิดไม่มีจงอยปาก (Beak) หัวกลมมน ลักษณะภายนอกสีน้ำเงินเทาด้านหลังและสีเทาจางด้านท้อง พบโดยทั่วไปตามชายฝั่ง โลมาหัวบาตรอิรวดีพบได้ทั้งในทะเล น้ำกร่อย และขึ้นไป ถึงน้ำจืด บริเวณแม่น้ำโขง จังหวัดอุบลราชธานี แม่น้ำสาละวิน จังหวัดแม่ฮ่องสอน และในทะเลสาบสงขลา พบซากตัวอย่าง 2 ตัวทางฝั่งอ่าวไทย พบตัวอย่างที่พบทางบริเวณฝั่งทะเลอันดามันที่จังหวัดสตูลและจังหวัดกระบี่ และยังพบอาศัยในบริเวณอ่าวพังงาและอ่าวกระบี่ ส่วนทางฝั่งอ่าวไทยพบในหลายจังหวัด อีกด้วย ขนาดตัวเต็มวัยประมาณ 2-2.75 เมตร ลูกแรกเกิดยาว 1 เมตร

โลมาปากขวด (Bottlenose dolphin) จะมีสีน้ำเงินเข้มอมเทา สีจางหรือบางครั้งอมชมพูด้านท้อง จงอยปากค่อนข้างสั้นใหญ่ครีบหลังขนาดค่อนข้างใหญ่เป็นรูปโค้งอยู่กึ่งกลางหลัง รูปร่างค่อนข้างอ้วน ชอบว่ายน้ำแข่งกับเรือขณะเดินเรืออยู่ในทะเลโลมาปากขวดแบ่งเป็น 2 กลุ่มที่เด่นชัดตามเขตที่อยู่อาศัยและขนาดคือ Temperate form (Tursiops truncatus) และ Tropical form (Tursiops aduncus) ลักษณะเด่นอีกอย่างคือมีจุดสีเทาเข้มประปรายตามลำตัวด้านข้างและด้านท้อง โลมาปากขวดมีพฤติกรรมชอบว่ายตามเรือขนาดใหญ่พบเห็นโดยทั่วไป โตเต็มที่ยาว 2.3-3.1 เมตร และ 1.9-2.3 เมตร โลมาปากขวดที่พบในน่านน้ำไทยโดยทั่วไปทั้งฝั่งอันดามันและอ่าวไทซึ่งมีขนาดเล็ก

โลมาเผือกหรือโลมาหลังโหนก (Indo-Pacific hump-backed dolphin) มีจงอยปากยาวโค้งเล็กน้อยที่เด่นชัดคือส่วนของฐานครีบหลังจะเป็นสันนูนสูง รองรับครีบหลังสีลำตัวจะมีการผันแปรต่างกันมาก ตัวเล็กจะมีสีจางจนเหมือนเผือก แม้บางตัวก็มีสีออกขาวเผือก หรือมีสีขาวในบางส่วน โลมาหลังโหนกมีสีเปลี่ยนแปรจากสีเหลืองจนถึงสีชมพู จนบางครั้งเป็นสีขาวหรือสีเทา แต่สีที่ท้องจะเป็นส่วนที่มีสี จางที่สุด จึงมีชื่อเรียกว่าโลมาเผือก หรืออีกชื่อหนึ่งว่า โลมาหลังโหนก ซึ่งเรียกตามลักษณะส่วนหลังที่เป็นสันนูน เป็นชนิดชอบอาศัยตามชายฝั่ง พบมากทั้งฝั่งอ่าวไทยและฝั่งอันดามัน ขนาดโตเต็มที่ ที่พบเพศผู้ยาว 3.2 เมตร และเพศเมีย 2.5 ลูกแรกเกิดยาวประมาณ 1 เมตร

โลมาหัวบาตรหลังเรียบ (Finless porpoise) เป็นโลมาประเภทไม่มีจงอยปากลักษณะคล้ายกับโลมาหัวบาตรอิรวดี แต่ส่วนหลังเรียบไม่มีครีบหลัง ครีบข้างค่อนข้างใหญ่ปลายแหลมที่ต่างกันชัดเจนคือ ลักษณะฟันโลมาทั่วไปจะเป็นฟันแหลม แต่ถ้าเป็นพวก Porpoise ลักษณะฟันจะมีหัวเป็นตุ่ม (spade shape) ทั่วโลกพบอยู่ 6 ชนิด ในประเทศไทยพบเกือบทุกจังหวัดที่ติดทะเล แต่พบเพียงชนิดเดียวเท่านั้น เมื่อโตเต็มวัยยาวประมาณ 1.9 เมตร ลูกแรกเกิดยาว 70-80 ซม.

โลมาแถบ (Striped dolphin) คล้ายโลมากระโดดแต่ลำตัวอ้วนป้อมกว่า จงอยปากใหญ่สั้นกว่าเล็กน้อยหลังสีน้ำเงินเข้มจางลงข้างลำตัว แถบสีเข้มจากตาตรงไปถึงโคนครีบข้าง แนวสีน้ำเงินเข้มและจางตัดกันเป็นลายแหลมข้างลำตัวเป็นลายรูปตัววี แถบสีเข้มเป็นแนว
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Dolphin (Dolphin) is a warm-blooded animals and mammals that live in the water. The nearby descent with a whale (Whale) that there is evidence that evolved from land animals, which are shaped like Mesonyx Retriever dog rat mix. Approximately 45 million years ago, are divided into two groups, there are several types of teeth which will have a Panel, filter, filters, food and types of teeth.โลมามีการปรับตัวหลายอย่างก็เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในน้ำที่ใช้ดำรงชิวิต เช่น มีวิวัฒนาการรูปร่างให้เพรียวทำให้สามารถว่ายน้ำได้เร็ว และเนื่องจากยังใช้ปอดในการหายใจ จมูกหรือช่องหายใจจึงเลื่อนไปอยู่บนสุดของส่วนหัว เพื่อสะดวกในการหายใจ ท่อหายใจกับช่องปากแยกกันเพื่อสะดวกในการกินอาหารใต้น้ำ มีการปรับปรุงระบบควบคุมอุณหภูมิในร่างกายให้อบอุ่นทดแทนขน เนื่องจากไม่เหมาะสมในการใช้งานใต้น้ำ โดยการมีลักษณะลำตัวเรียวคล้ายตอร์ปิโดเพื่อการลดพื้นที่ที่สัมผัสน้ำ การปรับปรุงเพิ่มชั้นไขมันใต้ผิวหนังให้หนาขึ้นเป็นฉนวนกันความร้อน ในชั้นไขมันจะมีเส้นเลือดหล่อเลี้ยงน้อยป้องกันการแลกเปลี่ยนอุณหภูมิกับน้ำ ระบบเส้นเลือดดำจะถูกล้อมด้วยเส้นเลือดแดงซึ่งมีอุณหภูมิสูงกว่า นอกจากนั้นการปรับตัวโดยลดอัตราการหายใจลง เป็นการลดการสูญเสียความร้อนที่ออกมากับอากาศ และเป็นผลให้โลมาดำน้ำได้นานขึ้น.The majority of dolphins off the ball by the tail. So part of the respiratory channels, is the last part came out touching the sea and swimming has surfaced for the first time in the breathing air is inhaled, immediately after birth. A newborn puppy is large, approximately 40% of the mothers to benefit in maintaining body temperature.Dolphin characteristics. There are various organs similar to common mammals just each part of the organ. Modify is different from a typical mammal is.ตาโลมามีดวงตาแจ่มใส เหมือนตาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีเปลือกตาปิดได้ และในเวลา กลางคืนตาจะเป็นประกาย เหมือนตาแมวสามารถมองเห็นได้ไกลถึง 50 ฟุต เมื่ออยู่ในอากาศ ตาของโลมาไม่มีเมือกหุ้มเหมือนตาของปลาทั่วไปจมูกโลมามีไว้หายใจ ตั้งอยู่กลางกระหม่อม เพื่อให้สะดวกต่อการเชิดหัวขึ้นหายใจเหนือน้ำ จากจมูกมีท่อหายใจต่อลงมาถึงปอดในตัว จึงไม่จำเป็นต้องให้น้ำผ่านเหงือกเข้าไปในปอดเพื่อช่วยหายใจเหมือนปลาทั่วไปหูจะอยู่ที่ด้านข้างองหัวมีรูเล็กจิ๋วติดอยู่ หูของโลมามีประสิทธิภาพสูงมาก รับคลื่นเสียงใต้น้ำได้อย่างดีเยี่ยม โดยเฉพาะกับภาษาที่โลมาสื่อสารกันด้วยเสียงที่มีคลื่นความถี่สูง การสื่อสารโลมามีสำเนียงเสียงภาษาประมาณ 15 ล้านคำ เป็นสัตว์ที่มีสัดส่วนของสมองมากกว่าสัตว์ชนิดอื่นๆ เวลาที่โลมาส่งเสียงออกมาเสมือนมีคลื่นพิเศษ เรียกว่าคลื่น Ultrasonic ซึ่งคลื่นชนิดนี้ใช้ในการสื่อสารกันเองในฝูงโลมา เมื่ออยู่ร่วมกันหรือเวลาพลัดหลงจากฝูงสีผิวของโลมาแต่ละชนิดจะต่างกัน ส่วนมากจะออกไปในโทนสีเทา ตั้งแต่เข้มเกือบดำจนกระทั่งถึงเกือบขาว แต่โดยทั่วไปโลมาจะมีสีผิว Two tone color คือมีสองสีตัดกัน ด้านบนสีเทาเข้ม ด้านล่างจะมีสีเกือบขาว เพราะเมื่อมองจากด้านบน สีจะกลืนกับสีน้ำทะเล ถ้ามองจากด้านล่างขึ้นไปส่วนของสีขาวจะกลืนเข้ากับแสงแดดเหนือผิวน้ำได้ดี ทั้งนี้เพื่อใช้พรางตัวจากศัตรูในทะเลในประเทศไทยมีโลมาที่เรารู้จักกัน 2 ชนิด คือ โลมาหัวบาตร และ โลมาปากขวด อาจยังสามารถพบโลมาอยู่ในแม่น้ำได้ด้วย เช่น ในแม่น้ำคงคาที่ประเทศอินเดีย และในแม่น้ำโขง เป็นโลมาหัวบาตรน้ำจืด โลมาอิรวดีหรือโลมาหัวบาตร (Irrawaddy dolphin) เป็นโลมาชนิดไม่มีจงอยปาก (Beak) หัวกลมมน ลักษณะภายนอกสีน้ำเงินเทาด้านหลังและสีเทาจางด้านท้อง พบโดยทั่วไปตามชายฝั่ง โลมาหัวบาตรอิรวดีพบได้ทั้งในทะเล น้ำกร่อย และขึ้นไป ถึงน้ำจืด บริเวณแม่น้ำโขง จังหวัดอุบลราชธานี แม่น้ำสาละวิน จังหวัดแม่ฮ่องสอน และในทะเลสาบสงขลา พบซากตัวอย่าง 2 ตัวทางฝั่งอ่าวไทย พบตัวอย่างที่พบทางบริเวณฝั่งทะเลอันดามันที่จังหวัดสตูลและจังหวัดกระบี่ และยังพบอาศัยในบริเวณอ่าวพังงาและอ่าวกระบี่ ส่วนทางฝั่งอ่าวไทยพบในหลายจังหวัด อีกด้วย ขนาดตัวเต็มวัยประมาณ 2-2.75 เมตร ลูกแรกเกิดยาว 1 เมตรโลมาปากขวด (Bottlenose dolphin) จะมีสีน้ำเงินเข้มอมเทา สีจางหรือบางครั้งอมชมพูด้านท้อง จงอยปากค่อนข้างสั้นใหญ่ครีบหลังขนาดค่อนข้างใหญ่เป็นรูปโค้งอยู่กึ่งกลางหลัง รูปร่างค่อนข้างอ้วน ชอบว่ายน้ำแข่งกับเรือขณะเดินเรืออยู่ในทะเลโลมาปากขวดแบ่งเป็น 2 กลุ่มที่เด่นชัดตามเขตที่อยู่อาศัยและขนาดคือ Temperate form (Tursiops truncatus) และ Tropical form (Tursiops aduncus) ลักษณะเด่นอีกอย่างคือมีจุดสีเทาเข้มประปรายตามลำตัวด้านข้างและด้านท้อง โลมาปากขวดมีพฤติกรรมชอบว่ายตามเรือขนาดใหญ่พบเห็นโดยทั่วไป โตเต็มที่ยาว 2.3-3.1 เมตร และ 1.9-2.3 เมตร โลมาปากขวดที่พบในน่านน้ำไทยโดยทั่วไปทั้งฝั่งอันดามันและอ่าวไทซึ่งมีขนาดเล็ก
โลมาเผือกหรือโลมาหลังโหนก (Indo-Pacific hump-backed dolphin) มีจงอยปากยาวโค้งเล็กน้อยที่เด่นชัดคือส่วนของฐานครีบหลังจะเป็นสันนูนสูง รองรับครีบหลังสีลำตัวจะมีการผันแปรต่างกันมาก ตัวเล็กจะมีสีจางจนเหมือนเผือก แม้บางตัวก็มีสีออกขาวเผือก หรือมีสีขาวในบางส่วน โลมาหลังโหนกมีสีเปลี่ยนแปรจากสีเหลืองจนถึงสีชมพู จนบางครั้งเป็นสีขาวหรือสีเทา แต่สีที่ท้องจะเป็นส่วนที่มีสี จางที่สุด จึงมีชื่อเรียกว่าโลมาเผือก หรืออีกชื่อหนึ่งว่า โลมาหลังโหนก ซึ่งเรียกตามลักษณะส่วนหลังที่เป็นสันนูน เป็นชนิดชอบอาศัยตามชายฝั่ง พบมากทั้งฝั่งอ่าวไทยและฝั่งอันดามัน ขนาดโตเต็มที่ ที่พบเพศผู้ยาว 3.2 เมตร และเพศเมีย 2.5 ลูกแรกเกิดยาวประมาณ 1 เมตร

โลมาหัวบาตรหลังเรียบ (Finless porpoise) เป็นโลมาประเภทไม่มีจงอยปากลักษณะคล้ายกับโลมาหัวบาตรอิรวดี แต่ส่วนหลังเรียบไม่มีครีบหลัง ครีบข้างค่อนข้างใหญ่ปลายแหลมที่ต่างกันชัดเจนคือ ลักษณะฟันโลมาทั่วไปจะเป็นฟันแหลม แต่ถ้าเป็นพวก Porpoise ลักษณะฟันจะมีหัวเป็นตุ่ม (spade shape) ทั่วโลกพบอยู่ 6 ชนิด ในประเทศไทยพบเกือบทุกจังหวัดที่ติดทะเล แต่พบเพียงชนิดเดียวเท่านั้น เมื่อโตเต็มวัยยาวประมาณ 1.9 เมตร ลูกแรกเกิดยาว 70-80 ซม.

โลมาแถบ (Striped dolphin) คล้ายโลมากระโดดแต่ลำตัวอ้วนป้อมกว่า จงอยปากใหญ่สั้นกว่าเล็กน้อยหลังสีน้ำเงินเข้มจางลงข้างลำตัว แถบสีเข้มจากตาตรงไปถึงโคนครีบข้าง แนวสีน้ำเงินเข้มและจางตัดกันเป็นลายแหลมข้างลำตัวเป็นลายรูปตัววี แถบสีเข้มเป็นแนว
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: