เศรษฐกิจพอเพียงเป็น ปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิต ที่ พระบาทสมเด็จพระ การแปล - เศรษฐกิจพอเพียงเป็น ปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิต ที่ พระบาทสมเด็จพระ อังกฤษ วิธีการพูด

เศรษฐกิจพอเพียงเป็น ปรัชญาที่ชี้แนว

เศรษฐกิจพอเพียง

เป็น ปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิต ที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็นต้นมา [1] [2] และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไข ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทย ให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคง และยั่งยืนในกระแส โลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เศรษฐกิจพอเพียง มีบทบาทต่อการกำหนดอุดมการณ์การพัฒนาของประเทศ โดยปัญญาชน ในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น ศ.นพ.ประเวศ วะสี , ศ.เสน่ห์ จามริก, ศ.อภิชัย พันธเสน, และ ศ.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา โดยเชื่อม โยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับ วัฒนธรรมชุมชน ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดย องค์กรพัฒนาเอกชนจำนวนหนึ่งนับตั้งแต่พุทธทศวรรษ 2520 และได้ช่วยให้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในสังคมไทย

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจและสาขาอื่น ๆ มาร่วมกันประมวล และกลั่นกรอง พระราชดำรัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบรรจุใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 [3] [4] และได้จัดทำเป็นบทความเรื่อง "ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง" และได้นำความกราบบังคลทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2542 โดยทรงพระกรุณา ปรับปรุงแก้ไขพระราชทานและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำบทความที่ทรงแก้ไขแล้วไปเผยแพร่ เพื่อเป็นแนวทาง ปฏิบัติของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้รับการเชิดชูเป็นอย่างสูงจาก องค์การสหประชาชาติ ว่าเป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ และสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน โดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็นด้วยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แต่ในขณะเดียวกัน บางสื่อได้มีการตั้งคำถามถึงการยกย่องขององค์การสหประชาชาติ รวมทั้งความน่าเชื่อถือของรายงานศึกษาและท่าทีขององค์การ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พัฒนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อที่จะให้พสกนิกรชาวไทยได้เข้าถึงทางสายกลางของชีวิตและเพื่อคงไว้ซึ่งทฤษฏีของการพัฒนาที่ยั่งยืน ทฤษฎีนี้เป็นพื้นฐานของการดำรงชีวิตซึ่งอยู่ระหว่าง สังคมระดับท้องถิ่นและตลอดระดับสากล จุดเด่นของแนวปรัชญานี้คือ แนวทางที่สมดุล โดยชาติสามารถทันสมัย และก้าวสู่ความเป็นสากลได้ โดยปราศจากการต่อต้านกระแส โลกาภิวัฒน์ และการอยู่รวมกันของทุกคนในสังคม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสำคัญในช่วงปี พ.ศ. 2540 ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศไทย ต้องประสบปัญหาภาวะทางเศรษฐกิจ และ ต้องการรักษาความมั่นคงและเสถียรภาพ เพื่อที่จะยืนหยัดในการพึ่งพาผู้อื่น และ พัฒนานโยบายที่สำคัญเพื่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ แนวคิด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริว่า มันไม่ได้มีความจำเป็นที่เราจะกลายเป็น ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ พระองค์ได้ทรงอธิบายว่า ความพอเพียงและการพึ่งตนเอง คือ ทางสายกลางที่จะป้องกันการเปลี่ยนแปลงความไม่มั่นคงของประเทศได้ เศรษฐกิจพอเพียง เชื่อว่าจะสามารถ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคมของชมชุนให้ดีขึ้นโดยมีปัจจัย 2 อย่างคือ

การผลิตจะต้องมีความสัมพันธ์กันระหว่าง ปริมาณ ผลผลิตและ การบริโภค
ชุมชนจะต้องมีความสามารถในการจัดการ ทรัพยากรของตนเอง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Sufficiency economyเป็น ปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิต ที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็นต้นมา [1] [2] และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไข ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทย ให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคง และยั่งยืนในกระแส โลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เศรษฐกิจพอเพียง มีบทบาทต่อการกำหนดอุดมการณ์การพัฒนาของประเทศ โดยปัญญาชน ในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น ศ.นพ.ประเวศ วะสี , ศ.เสน่ห์ จามริก, ศ.อภิชัย พันธเสน, และ ศ.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา โดยเชื่อม โยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับ วัฒนธรรมชุมชน ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดย องค์กรพัฒนาเอกชนจำนวนหนึ่งนับตั้งแต่พุทธทศวรรษ 2520 และได้ช่วยให้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในสังคมไทยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจและสาขาอื่น ๆ มาร่วมกันประมวล และกลั่นกรอง พระราชดำรัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบรรจุใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 [3] [4] และได้จัดทำเป็นบทความเรื่อง "ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง" และได้นำความกราบบังคลทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2542 โดยทรงพระกรุณา ปรับปรุงแก้ไขพระราชทานและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำบทความที่ทรงแก้ไขแล้วไปเผยแพร่ เพื่อเป็นแนวทาง ปฏิบัติของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้รับการเชิดชูเป็นอย่างสูงจาก องค์การสหประชาชาติ ว่าเป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ และสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน โดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็นด้วยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แต่ในขณะเดียวกัน บางสื่อได้มีการตั้งคำถามถึงการยกย่องขององค์การสหประชาชาติ รวมทั้งความน่าเชื่อถือของรายงานศึกษาและท่าทีขององค์การพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พัฒนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อที่จะให้พสกนิกรชาวไทยได้เข้าถึงทางสายกลางของชีวิตและเพื่อคงไว้ซึ่งทฤษฏีของการพัฒนาที่ยั่งยืน ทฤษฎีนี้เป็นพื้นฐานของการดำรงชีวิตซึ่งอยู่ระหว่าง สังคมระดับท้องถิ่นและตลอดระดับสากล จุดเด่นของแนวปรัชญานี้คือ แนวทางที่สมดุล โดยชาติสามารถทันสมัย และก้าวสู่ความเป็นสากลได้ โดยปราศจากการต่อต้านกระแส โลกาภิวัฒน์ และการอยู่รวมกันของทุกคนในสังคม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสำคัญในช่วงปี พ.ศ. 2540 ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศไทย ต้องประสบปัญหาภาวะทางเศรษฐกิจ และ ต้องการรักษาความมั่นคงและเสถียรภาพ เพื่อที่จะยืนหยัดในการพึ่งพาผู้อื่น และ พัฒนานโยบายที่สำคัญเพื่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ แนวคิด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริว่า มันไม่ได้มีความจำเป็นที่เราจะกลายเป็น ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ พระองค์ได้ทรงอธิบายว่า ความพอเพียงและการพึ่งตนเอง คือ ทางสายกลางที่จะป้องกันการเปลี่ยนแปลงความไม่มั่นคงของประเทศได้ เศรษฐกิจพอเพียง เชื่อว่าจะสามารถ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคมของชมชุนให้ดีขึ้นโดยมีปัจจัย 2 อย่างคือThey need to have a relationship between yield and quantity consumed.The community must have the ability to manage. Their own resources.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Just as Philosophical approach to life that His Majesty King Bhumibol Adulyadej marketplace Cummins Navy His Majesty the King of Thailand since the year 2517 onwards, [1] [2] and was mentioned prominently in the day. On December 4, 2540, to guide fixed. Thailand's economic problems To be held firmly. And sustainable flow Globalization and the transformation of economic self-sufficiency. Play a role in setting the ideological development of the country's intellectuals in Thailand, many of you have shared comments such as Prof. Dr.. Prawet Wasi, Prof. attractive sneezing Zurich, Prof. APICHAI Puntasen, and Prof. tiered heavenly twist. Supa linked to the concept of sufficiency economy. Community Culture Which had been proposed earlier. NGOs number one since Buddhism decade in 2520, and has helped Sufficiency Economy is widely known in Thailand Office of Economic Development and the National Society has invited experts in economic and other fields come together processing. and moderated his speech about the economy just enough to pack in. Economic Development Plan and the National Society No. 9 [3] [4] and has prepared a paper on "The Philosophy of Sufficiency Economy" and has brought down Bagcl unto your royal Majesty diagnosed on October 22. Fri. . 2542 by mercy Improve Majesty and His Majesty. Royal permission to bring the revised articles to publish. To guide Practice of the Office of National Economic and Social Development and all the parties concerned. As well as the general public on November 21, 2542, philosophy has been raised very high. UN That is a philosophy that is beneficial to the United States and other countries. And encouraged Member States to adhere to the guidelines for sustainable development. The scholars and many economists agree with the sufficiency economy. But at the same time Some media have questioned the prestige of the United Nations. As well as the credibility of the report and the attitude of the organization King Bhumibol Adulyadej. The core development philosophy in order to provide the population has access to Thailand, the medium of life and to maintain the principle of sustainable development. This theory is the basis of life, which is between. Society as a local and international level. Highlights of this philosophy Balanced approach The modern national And to become universal. Without the anti-globalization and coexistence of all people in society. The main philosophy is vital in the year 2540 when the country. Having suffered economic problems and wants to maintain security and stability. To insist on relying on others and develop policies that are critical to the economic revival of the idea that a Royal King. It is not necessary for us to become. New Industrial He explains, Sufficiency and self-reliance is a middle path that would prevent the instability of the country. Sufficient economy Believes that it can Modify the social structure of the visit Changchun for the better by a factor of 2 is produced has to be a relationship between output growth and consumer communities will be capable of handling. Own resources










การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Sufficiency economy

is a philosophy of life that point, King Bhumibol ปรมิ นทร University vadhana det a message to the Thai since years. The 2517 onwards [] [] and 1 2 mentioned clearly in the 4 December 20082540 as solutions. The Thai economy. To be able to be stable and sustainable in the trend of globalization and changes of various sufficiency economy. Play a role in the ideological development of the country.In Thai society, many of you have comment, such as Prof.Dr. penetration. วะสี, Prof. charm. จามริก, Professor, however, the พันธเสน and Prof.Chut-thip นาถสุภา. By linking the concept of economy with community culture, which offered by've been before A number of NGOs since 2520 actuary.
.The national economic and social development plan has invited experts in the economic and other fields. Come together to process and scrutinize Message about sufficient to packing.The 9 [] [] and 3 4 providing an article entitled "the philosophy of sufficiency economy". And the bow บังคล unto mercy for the diagnosis on 22 OctoberProf.2542 by compassion. Rectify and royal royal Allow the articles that he edited and published as a guide.As well as the general public on 21 NovemberProfessor 2542

.This philosophy has been glorification is highly from the United Nations What is the philosophy that is beneficial to the country and other countries; And the support member based on an approach to sustainable development.But at the same time. Some media outlets have to question the commendation of the United Nations As well as the credibility of the study report, and attitude of the organization
.
.King Bhumibol Adulyadej. Develop sufficiency economy to civilian people reach the middle of life and to maintain that the theory of sustainable development.The society at the local level and throughout the global level. The highlights of the philosophy this is balanced by the national guidelines can be modern and step to become universal. Without opposition to current globalization and being a combination of everyone in the society.B.Prof.2540 which was in Thailand. Have a problem to economic conditions and to maintain security and stability. In order to stand to rely on others and develop important policies for the restoration of the country's economy. Concept.It is not necessary that we will become a newly industrialized country, he explains that the self-sufficiency and self-reliance is a middle to prevent changes to the instability of the country. Sufficiency economy.Alter the social structure of watch Chun better by the factor 2 is
.
the production must be the relationship between the quantity of output and consumption of
community must have the ability to manage its own resources.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: