ความเป็นมาในการศึกษาเรื่องความแตกต่างของพระพรหมในศาสนาพุทธและศาสนาพราห การแปล - ความเป็นมาในการศึกษาเรื่องความแตกต่างของพระพรหมในศาสนาพุทธและศาสนาพราห อังกฤษ วิธีการพูด

ความเป็นมาในการศึกษาเรื่องความแตกต่

ความเป็นมาในการศึกษาเรื่องความแตกต่างของพระพรหมในศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ์เกิดจาก 2 ศาสนานี้มีความเชื่อที่แตกต่างกัน ศาสนาพุทธมีคุณลักษณะโดดเด่นที่แตกต่างจากศาสนาอื่น ๆ ด้วยเหตุผล สําคัญประการหนึ่งนั้น คือ เป็นศาสนาที่ให้ความสําคัญแก่มนุษย์ และยืนยันในศักยภาพที่ สามารถพัฒนาได้ โดยมีพื้นฐานความเชื่อที่ว่ามนุษย์ทุกคนมีสติปัญญา มีความสามารถที่ฝึกฝน หรือพัฒนาจนสามารถหยั่งรู้สัจธรรม และพัฒนาขึ้นไปสู่การบรรลุความหลุดพ้นจากกองทุกข์ เพื่อเข้าสู่ความเป็นอิสระทางปัญญาอย่างแท้จริงด้วยตัวของมนุษย์เอง โดยไม่จําเป็นต้องหวังพึ่ง เทพเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่จะดลบันดาลให้มีให้เกิดขึ้น แต่ศาสนาพราหมณ์มองว่าเดิมทีเดียวนั้นถือว่าพระพรหมเป็นเทพเจ้าสูงสุด องค์เดียว ที่เป็นเทพเจ้าผู้สร้างโลกและสรรพสิ่งต่าง ๆ ในโลก เป็นปฐมเหตุของสิ่งทั้งปวง และยังเชื่ออีกว่าพระพรหมเป็นผู้ที่กําหนดชะตาชีวิตของมนุษย์ทุกคน ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ ทางกลุ่มจึงสนใจและให้ความสําคัญที่จะศึกษาในประเด็น การศึกษาความแตกต่างของพระพรหมในศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธศาสนา ว่ามีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร ทั้งนี้เพื่อที่จะทําให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องต่อปรัชญาแนวคิด เกี่ยวกับพระพรหม และที่สําคัญจะทําให้เกิดความเข้าใจในหลักการของพระพุทธศาสนาว่ามี หลักธรรมคําสอน ซึ่งจะทําให้พวกเราผู้ที่เป็นชาวพุทธ ทั้งหลายเกิดความเข้าใจ และจะได้ปรับท่าที่และประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้องเหมาะสม ไม่งมงาย ลุ่มหลงในสิ่งที่พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงสอนให้ประพฤติปฏิบัติ เพราะไม่เห็นประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น
พระพรหมในศาสนาพราหมณ์ แปลว่า เจริญเติบโต แตก แขนงกว้างออก ความหมายของพรหมในระยะเริ่มแรกนั้น หมายถึง ความรู้ที่ศักดิ์สิทธิ์ หรือเวทมนต์ อันเป็นสิ่งวิเศษ ต่อมาในระยะแรกของยุคอุปนิษัท ความหมายได้เปลี่ยนเป็นการบูชายันต์ การสวดอ้อนวอน รวมถึงพลังอันศักดิ์สิทธิ์ และในคัมภีร์อุปนิษัทยุคหลังคําว่า พรหมมี พัฒนาการของความหมายเป็นสิ่งแท้จริงสูงสุดหรืออันติม ซึ่งได้วิวัฒน์ มาเป็นโลก และเป็นมูลการณ์ของสรรพสิ่งในโลก ชนิดของพรหม จากการศึกษาพบว่าพรหมตามทัศนะของศาสนาพราหมณ์นั้นมีอยู่ ๒ ชนิด คือ บุคลาธิษฐานพรหม และธรรมาธิษฐานพรหม 1.บุคลาธิษฐานพรหม เป็นพรหมที่เป็นปฐมเหตุของโลก คือทุกสรรพสิ่ง เกิดจากพรหม พรหมประเภทนี้มีคุณสมบัติที่ดีและเพียบพร้อมไปด้วยคุณวิเศษทุกอย่าง สามารถที่จะพรรณนาได้คือ เป็นสรรพัญญู พระองค์ทรงรูปอย่างทั้ง อดีตปัจจุบัน และอนาคต ไม่มีสิ่งใดที่พระองค์ไม่รู้และพระองค์ทรงสถิตอยู่ทุกหนทุกแห่ง 2.ธรรมาธิษฐานพรหม ธรรมาธิษฐานพรหมนั้นเป็นการมองพรหมในแง่โลกุตระ หรือที่ เรียกว่า นิรคุณพรหมัน หมายถึง พรหมันที่ปราศจากคุณสมบัติ ศาสนาพราหมณ์ถือพรหมประเภทนี้ว่าเป็นมูลการณะของสรรพสิ่ง เป็นที่มาของสรรพสิ่ง แม้แต่พระเป็นเจ้าสูงสุดที่เรียกว่าอีศวร ก็เป็นการสําแดงให้ปรากฏของสิ่งสมบูรณ์ คุณสมบัติอันแท้จริงของพรหมันในลักษณะนี้ไม่อาจใช้ภาษาพูดอธิบายได้ เพราะเป็นสิ่งที่อยู่เหนือคําพูดหรือภาษา มพรหมทั้ง ๒ ประเภทไม่สามารถแยกออกจากกันได้ เพราะเป็นสภาวะ ของสิ่งที่แท้จริงสูงสุดอันเดียวกัน การปฏิบัติเพื่อความเป็นพระพรหมในศาสนาพราหมณ์ จุดหมายสูงสุดของศาสนาพราหมณ์ คือ โมกษะหรือความหลุดพ้น ซึ่งหมายถึงภาวะ ที่ชีวิตมันเข้ารวมกับพรหมันหรือเป็นเอกภาพกับพรหมัน ผู้มุ่งโมกษะ หรือความหลุดพ้น ย่อมมีจุดหมายปลายทางอันเดียวกัน แต่วิธีการที่ใช้ เพื่อไปถึงจุดหมายปลายทางนั้นแตกต่างกันไปตามประเภทของบุคคล ความเชื่อเกี่ยวกับพระพรหมในพุทธศาสนา ความหมายของพระพรหม คือ ใหญ่ เติบโต เจริญรุ่งเรือง นอกจากนั้นยังสามารถให้ความหมายเป็นคําขยาย จะแปลว่า ประเสริฐสุด สูงสุด บริสุทธิ์ ชนิดของพระพรหม พรหมในทัศนะของพระพุทธศาสนา แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดคือพรหมในฐานะที่เป็น บุคลาธิษฐานและพรหมในฐานะที่เป็นธรรมาธิษฐาน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1.พระพรหมในฐานะที่เป็นบุคลาธิษฐาน การศึกษาพรหมในฐานะที่เป็นบุคลาธิษฐานนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภทคือ ๑.ถือเอาความหมายของพรหมที่เป็นตัวบุคคลนั้นหมายถึง สัตว์โลกประเภทหนึ่ง แต่เป็นเทวดาชั้นสูงอันเป็นผลจากการเจริญสมกรรมฐานจนได้ฌาน และเมื่อละจากโลกนี้แล้ว ย่อมไปเกิดเป็นเทพชั้นสูงในพรหมโลก ๒.ถือเอาความหมายอันประเสริฐ ใช้เปรียบบุคคลที่มี คุณธรรมสูงให้เป็นพรหม 2.พระพรหมในฐานะที่เป็นธรรมาธิษฐาน คือ การยกเอาหัวข้อธรรมมาแสดงเป็นพรหม หรือเป็น ปฏิปทาที่เป็นหนทางนําไปสู่ความเป็นพรหม คือ โสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล และ อรหัตตผล พรหมกับระบบวรรณะ ระบบวรรณะเกิดขึ้นในยุคพระเวท และความเชื่อและ การปฏิบัติในเรื่องนี้ได้สืบต่อมา โดยพวกพราหมณ์อ้างว่าพวกตนนั้นมาจากพระพรหม และได้ ยกเรื่องวรรณะ ๔ ซึ่งมีสอนไว้ในสมัยพระเวท อันเนื่องจากการแบ่งหน้าที่การงานกันให้ ศักดิ์สิทธิ์และจริงจังขึ้นมา โดยสอนว่าเป็นความจริงที่พวกพราหมณ์เกิดมากจากพระโอษฐ์ของ พระพรหม กษัตริย์เกิดมากจากพระพาหาของพระพรหม แพศย์เกิดมาจากพระโสณีของพระ พรหม และศูทร์เกิดมาจากพระบาทของพระพรหม โดยการกล่าวอ้างเช่นนี้พวกพราหมณ์จึงเป็น วรรณะประเสริฐสุด เหนือกว่าพวกวรรณะอื่นๆ มีหน้าที่สอนพระเวทอันศักดิ์สิทธิ์ให้แก่วรรณะ ต่างๆ เพราะเกิดมาจากพระโอษฐ์ของพระพรหม ดังนั้นพวกวรรณะอื่นๆ จะต้องเคารพยกย่อง และอุปถัมภ์พวกวรรณะพราหมณ์ เมื่อพวกพราหมณ์ถือตัวว่าสูงส่งดังกล่าว จึงผูกขาดพิธีกรรม ว่าทําได้เฉพาะพวกพราหมณ์เท่านั้น วรรณะอื่นไม่มีสิทธิ์ที่จะกระทําได้ จากการศึกษาหลักคําสอนเรื่องพรหมของศาสนาพราหมณ์และพระพุทธศาสนา พบว่าคําสอนทั้งสองมีความเชื่อมโยงกันอย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะในประเด็นเรื่องพรหมที่เป็นบุคลาธิษฐานประเภทที่มีตัวตน อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าหลักคําสอนของทั้ง 2 ศาสนา จะมีความคล้ายคลึงกัน แต่พระพุทธเจ้าก็ไม่ได้เห็นด้วยกับคติความเชื่อเรื่องพรหมของพวกพราหมณ์ทั้งหมด พระพุทธองค์ทรงปรับแนวคิดเรื่องพรหมให้มีความเป็นเหตุเป็นผล มีความน่าเชื่อถือมีที่มาที่ไป สามารถ อธิบายได้แม้อยู่ในบริบทสังคมของพวกพราหมณ์เอง พรหมในทัศนะของ พระพุทธองค์เป็น เพียงสัตว์โลกชนิดหนึ่ง ที่ไปเกิดเป็นพรหมอยู่ ณ สวรรค์ชั้นต่างๆ ในพรหมโลก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ความเป็นมาในการศึกษาเรื่องความแตกต่างของพระพรหมในศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ์เกิดจาก 2 ศาสนานี้มีความเชื่อที่แตกต่างกัน ศาสนาพุทธมีคุณลักษณะโดดเด่นที่แตกต่างจากศาสนาอื่น ๆ ด้วยเหตุผล สําคัญประการหนึ่งนั้น คือ เป็นศาสนาที่ให้ความสําคัญแก่มนุษย์ และยืนยันในศักยภาพที่ สามารถพัฒนาได้ โดยมีพื้นฐานความเชื่อที่ว่ามนุษย์ทุกคนมีสติปัญญา มีความสามารถที่ฝึกฝน หรือพัฒนาจนสามารถหยั่งรู้สัจธรรม และพัฒนาขึ้นไปสู่การบรรลุความหลุดพ้นจากกองทุกข์ เพื่อเข้าสู่ความเป็นอิสระทางปัญญาอย่างแท้จริงด้วยตัวของมนุษย์เอง โดยไม่จําเป็นต้องหวังพึ่ง เทพเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่จะดลบันดาลให้มีให้เกิดขึ้น แต่ศาสนาพราหมณ์มองว่าเดิมทีเดียวนั้นถือว่าพระพรหมเป็นเทพเจ้าสูงสุด องค์เดียว ที่เป็นเทพเจ้าผู้สร้างโลกและสรรพสิ่งต่าง ๆ ในโลก เป็นปฐมเหตุของสิ่งทั้งปวง และยังเชื่ออีกว่าพระพรหมเป็นผู้ที่กําหนดชะตาชีวิตของมนุษย์ทุกคน ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ ทางกลุ่มจึงสนใจและให้ความสําคัญที่จะศึกษาในประเด็น การศึกษาความแตกต่างของพระพรหมในศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธศาสนา ว่ามีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร ทั้งนี้เพื่อที่จะทําให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องต่อปรัชญาแนวคิด เกี่ยวกับพระพรหม และที่สําคัญจะทําให้เกิดความเข้าใจในหลักการของพระพุทธศาสนาว่ามี หลักธรรมคําสอน ซึ่งจะทําให้พวกเราผู้ที่เป็นชาวพุทธ ทั้งหลายเกิดความเข้าใจ และจะได้ปรับท่าที่และประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้องเหมาะสม ไม่งมงาย ลุ่มหลงในสิ่งที่พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงสอนให้ประพฤติปฏิบัติ เพราะไม่เห็นประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นพระพรหมในศาสนาพราหมณ์ แปลว่า เจริญเติบโต แตก แขนงกว้างออก ความหมายของพรหมในระยะเริ่มแรกนั้น หมายถึง ความรู้ที่ศักดิ์สิทธิ์ หรือเวทมนต์ อันเป็นสิ่งวิเศษ ต่อมาในระยะแรกของยุคอุปนิษัท ความหมายได้เปลี่ยนเป็นการบูชายันต์ การสวดอ้อนวอน รวมถึงพลังอันศักดิ์สิทธิ์ และในคัมภีร์อุปนิษัทยุคหลังคําว่า พรหมมี พัฒนาการของความหมายเป็นสิ่งแท้จริงสูงสุดหรืออันติม ซึ่งได้วิวัฒน์ มาเป็นโลก และเป็นมูลการณ์ของสรรพสิ่งในโลก ชนิดของพรหม จากการศึกษาพบว่าพรหมตามทัศนะของศาสนาพราหมณ์นั้นมีอยู่ ๒ ชนิด คือ บุคลาธิษฐานพรหม และธรรมาธิษฐานพรหม 1.บุคลาธิษฐานพรหม เป็นพรหมที่เป็นปฐมเหตุของโลก คือทุกสรรพสิ่ง เกิดจากพรหม พรหมประเภทนี้มีคุณสมบัติที่ดีและเพียบพร้อมไปด้วยคุณวิเศษทุกอย่าง สามารถที่จะพรรณนาได้คือ เป็นสรรพัญญู พระองค์ทรงรูปอย่างทั้ง อดีตปัจจุบัน และอนาคต ไม่มีสิ่งใดที่พระองค์ไม่รู้และพระองค์ทรงสถิตอยู่ทุกหนทุกแห่ง 2.ธรรมาธิษฐานพรหม ธรรมาธิษฐานพรหมนั้นเป็นการมองพรหมในแง่โลกุตระ หรือที่ เรียกว่า นิรคุณพรหมัน หมายถึง พรหมันที่ปราศจากคุณสมบัติ ศาสนาพราหมณ์ถือพรหมประเภทนี้ว่าเป็นมูลการณะของสรรพสิ่ง เป็นที่มาของสรรพสิ่ง แม้แต่พระเป็นเจ้าสูงสุดที่เรียกว่าอีศวร ก็เป็นการสําแดงให้ปรากฏของสิ่งสมบูรณ์ คุณสมบัติอันแท้จริงของพรหมันในลักษณะนี้ไม่อาจใช้ภาษาพูดอธิบายได้ เพราะเป็นสิ่งที่อยู่เหนือคําพูดหรือภาษา มพรหมทั้ง ๒ ประเภทไม่สามารถแยกออกจากกันได้ เพราะเป็นสภาวะ ของสิ่งที่แท้จริงสูงสุดอันเดียวกัน การปฏิบัติเพื่อความเป็นพระพรหมในศาสนาพราหมณ์ จุดหมายสูงสุดของศาสนาพราหมณ์ คือ โมกษะหรือความหลุดพ้น ซึ่งหมายถึงภาวะ ที่ชีวิตมันเข้ารวมกับพรหมันหรือเป็นเอกภาพกับพรหมัน ผู้มุ่งโมกษะ หรือความหลุดพ้น ย่อมมีจุดหมายปลายทางอันเดียวกัน แต่วิธีการที่ใช้ เพื่อไปถึงจุดหมายปลายทางนั้นแตกต่างกันไปตามประเภทของบุคคล ความเชื่อเกี่ยวกับพระพรหมในพุทธศาสนา ความหมายของพระพรหม คือ ใหญ่ เติบโต เจริญรุ่งเรือง นอกจากนั้นยังสามารถให้ความหมายเป็นคําขยาย จะแปลว่า ประเสริฐสุด สูงสุด บริสุทธิ์ ชนิดของพระพรหม พรหมในทัศนะของพระพุทธศาสนา แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดคือพรหมในฐานะที่เป็น บุคลาธิษฐานและพรหมในฐานะที่เป็นธรรมาธิษฐาน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1.พระพรหมในฐานะที่เป็นบุคลาธิษฐาน การศึกษาพรหมในฐานะที่เป็นบุคลาธิษฐานนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภทคือ ๑.ถือเอาความหมายของพรหมที่เป็นตัวบุคคลนั้นหมายถึง สัตว์โลกประเภทหนึ่ง แต่เป็นเทวดาชั้นสูงอันเป็นผลจากการเจริญสมกรรมฐานจนได้ฌาน และเมื่อละจากโลกนี้แล้ว ย่อมไปเกิดเป็นเทพชั้นสูงในพรหมโลก ๒.ถือเอาความหมายอันประเสริฐ ใช้เปรียบบุคคลที่มี คุณธรรมสูงให้เป็นพรหม 2.พระพรหมในฐานะที่เป็นธรรมาธิษฐาน คือ การยกเอาหัวข้อธรรมมาแสดงเป็นพรหม หรือเป็น ปฏิปทาที่เป็นหนทางนําไปสู่ความเป็นพรหม คือ โสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล และ อรหัตตผล พรหมกับระบบวรรณะ ระบบวรรณะเกิดขึ้นในยุคพระเวท และความเชื่อและ การปฏิบัติในเรื่องนี้ได้สืบต่อมา โดยพวกพราหมณ์อ้างว่าพวกตนนั้นมาจากพระพรหม และได้ ยกเรื่องวรรณะ ๔ ซึ่งมีสอนไว้ในสมัยพระเวท อันเนื่องจากการแบ่งหน้าที่การงานกันให้ ศักดิ์สิทธิ์และจริงจังขึ้นมา โดยสอนว่าเป็นความจริงที่พวกพราหมณ์เกิดมากจากพระโอษฐ์ของ พระพรหม กษัตริย์เกิดมากจากพระพาหาของพระพรหม แพศย์เกิดมาจากพระโสณีของพระ พรหม และศูทร์เกิดมาจากพระบาทของพระพรหม โดยการกล่าวอ้างเช่นนี้พวกพราหมณ์จึงเป็น วรรณะประเสริฐสุด เหนือกว่าพวกวรรณะอื่นๆ มีหน้าที่สอนพระเวทอันศักดิ์สิทธิ์ให้แก่วรรณะ ต่างๆ เพราะเกิดมาจากพระโอษฐ์ของพระพรหม ดังนั้นพวกวรรณะอื่นๆ จะต้องเคารพยกย่อง และอุปถัมภ์พวกวรรณะพราหมณ์ เมื่อพวกพราหมณ์ถือตัวว่าสูงส่งดังกล่าว จึงผูกขาดพิธีกรรม ว่าทําได้เฉพาะพวกพราหมณ์เท่านั้น วรรณะอื่นไม่มีสิทธิ์ที่จะกระทําได้ จากการศึกษาหลักคําสอนเรื่องพรหมของศาสนาพราหมณ์และพระพุทธศาสนา พบว่าคําสอนทั้งสองมีความเชื่อมโยงกันอย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะในประเด็นเรื่องพรหมที่เป็นบุคลาธิษฐานประเภทที่มีตัวตน อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าหลักคําสอนของทั้ง 2 ศาสนา จะมีความคล้ายคลึงกัน แต่พระพุทธเจ้าก็ไม่ได้เห็นด้วยกับคติความเชื่อเรื่องพรหมของพวกพราหมณ์ทั้งหมด พระพุทธองค์ทรงปรับแนวคิดเรื่องพรหมให้มีความเป็นเหตุเป็นผล มีความน่าเชื่อถือมีที่มาที่ไป สามารถ อธิบายได้แม้อยู่ในบริบทสังคมของพวกพราหมณ์เอง พรหมในทัศนะของ พระพุทธองค์เป็น เพียงสัตว์โลกชนิดหนึ่ง ที่ไปเกิดเป็นพรหมอยู่ ณ สวรรค์ชั้นต่างๆ ในพรหมโลก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ความเป็นมาในการศึกษาเรื่องความแตกต่างของพระพรหมในศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ์เกิดจาก 2 ศาสนานี้มีความเชื่อที่แตกต่างกัน ศาสนาพุทธมีคุณลักษณะโดดเด่นที่แตกต่างจากศาสนาอื่น ๆ ด้วยเหตุผล สําคัญประการหนึ่งนั้น คือ เป็นศาสนาที่ให้ความสําคัญแก่มนุษย์ และยืนยันในศักยภาพที่ สามารถพัฒนาได้ โดยมีพื้นฐานความเชื่อที่ว่ามนุษย์ทุกคนมีสติปัญญา มีความสามารถที่ฝึกฝน หรือพัฒนาจนสามารถหยั่งรู้สัจธรรม และพัฒนาขึ้นไปสู่การบรรลุความหลุดพ้นจากกองทุกข์ เพื่อเข้าสู่ความเป็นอิสระทางปัญญาอย่างแท้จริงด้วยตัวของมนุษย์เอง โดยไม่จําเป็นต้องหวังพึ่ง เทพเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่จะดลบันดาลให้มีให้เกิดขึ้น แต่ศาสนาพราหมณ์มองว่าเดิมทีเดียวนั้นถือว่าพระพรหมเป็นเทพเจ้าสูงสุด องค์เดียว ที่เป็นเทพเจ้าผู้สร้างโลกและสรรพสิ่งต่าง ๆ ในโลก เป็นปฐมเหตุของสิ่งทั้งปวง และยังเชื่ออีกว่าพระพรหมเป็นผู้ที่กําหนดชะตาชีวิตของมนุษย์ทุกคน ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ ทางกลุ่มจึงสนใจและให้ความสําคัญที่จะศึกษาในประเด็น การศึกษาความแตกต่างของพระพรหมในศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธศาสนา ว่ามีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร ทั้งนี้เพื่อที่จะทําให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องต่อปรัชญาแนวคิด เกี่ยวกับพระพรหม และที่สําคัญจะทําให้เกิดความเข้าใจในหลักการของพระพุทธศาสนาว่ามี หลักธรรมคําสอน ซึ่งจะทําให้พวกเราผู้ที่เป็นชาวพุทธ ทั้งหลายเกิดความเข้าใจ และจะได้ปรับท่าที่และประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้องเหมาะสม ไม่งมงาย ลุ่มหลงในสิ่งที่พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงสอนให้ประพฤติปฏิบัติ เพราะไม่เห็นประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น
พระพรหมในศาสนาพราหมณ์ แปลว่า เจริญเติบโต แตก แขนงกว้างออก ความหมายของพรหมในระยะเริ่มแรกนั้น หมายถึง ความรู้ที่ศักดิ์สิทธิ์ หรือเวทมนต์ อันเป็นสิ่งวิเศษ ต่อมาในระยะแรกของยุคอุปนิษัท ความหมายได้เปลี่ยนเป็นการบูชายันต์ การสวดอ้อนวอน รวมถึงพลังอันศักดิ์สิทธิ์ และในคัมภีร์อุปนิษัทยุคหลังคําว่า พรหมมี พัฒนาการของความหมายเป็นสิ่งแท้จริงสูงสุดหรืออันติม ซึ่งได้วิวัฒน์ มาเป็นโลก และเป็นมูลการณ์ของสรรพสิ่งในโลก ชนิดของพรหม จากการศึกษาพบว่าพรหมตามทัศนะของศาสนาพราหมณ์นั้นมีอยู่ ๒ ชนิด คือ บุคลาธิษฐานพรหม และธรรมาธิษฐานพรหม 1.บุคลาธิษฐานพรหม เป็นพรหมที่เป็นปฐมเหตุของโลก คือทุกสรรพสิ่ง เกิดจากพรหม พรหมประเภทนี้มีคุณสมบัติที่ดีและเพียบพร้อมไปด้วยคุณวิเศษทุกอย่าง สามารถที่จะพรรณนาได้คือ เป็นสรรพัญญู พระองค์ทรงรูปอย่างทั้ง อดีตปัจจุบัน และอนาคต ไม่มีสิ่งใดที่พระองค์ไม่รู้และพระองค์ทรงสถิตอยู่ทุกหนทุกแห่ง 2.ธรรมาธิษฐานพรหม ธรรมาธิษฐานพรหมนั้นเป็นการมองพรหมในแง่โลกุตระ หรือที่ เรียกว่า นิรคุณพรหมัน หมายถึง พรหมันที่ปราศจากคุณสมบัติ ศาสนาพราหมณ์ถือพรหมประเภทนี้ว่าเป็นมูลการณะของสรรพสิ่ง เป็นที่มาของสรรพสิ่ง แม้แต่พระเป็นเจ้าสูงสุดที่เรียกว่าอีศวร ก็เป็นการสําแดงให้ปรากฏของสิ่งสมบูรณ์ คุณสมบัติอันแท้จริงของพรหมันในลักษณะนี้ไม่อาจใช้ภาษาพูดอธิบายได้ เพราะเป็นสิ่งที่อยู่เหนือคําพูดหรือภาษา มพรหมทั้ง ๒ ประเภทไม่สามารถแยกออกจากกันได้ เพราะเป็นสภาวะ ของสิ่งที่แท้จริงสูงสุดอันเดียวกัน การปฏิบัติเพื่อความเป็นพระพรหมในศาสนาพราหมณ์ จุดหมายสูงสุดของศาสนาพราหมณ์ คือ โมกษะหรือความหลุดพ้น ซึ่งหมายถึงภาวะ ที่ชีวิตมันเข้ารวมกับพรหมันหรือเป็นเอกภาพกับพรหมัน ผู้มุ่งโมกษะ หรือความหลุดพ้น ย่อมมีจุดหมายปลายทางอันเดียวกัน แต่วิธีการที่ใช้ เพื่อไปถึงจุดหมายปลายทางนั้นแตกต่างกันไปตามประเภทของบุคคล ความเชื่อเกี่ยวกับพระพรหมในพุทธศาสนา ความหมายของพระพรหม คือ ใหญ่ เติบโต เจริญรุ่งเรือง นอกจากนั้นยังสามารถให้ความหมายเป็นคําขยาย จะแปลว่า ประเสริฐสุด สูงสุด บริสุทธิ์ ชนิดของพระพรหม พรหมในทัศนะของพระพุทธศาสนา แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดคือพรหมในฐานะที่เป็น บุคลาธิษฐานและพรหมในฐานะที่เป็นธรรมาธิษฐาน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1.พระพรหมในฐานะที่เป็นบุคลาธิษฐาน การศึกษาพรหมในฐานะที่เป็นบุคลาธิษฐานนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภทคือ ๑.ถือเอาความหมายของพรหมที่เป็นตัวบุคคลนั้นหมายถึง สัตว์โลกประเภทหนึ่ง แต่เป็นเทวดาชั้นสูงอันเป็นผลจากการเจริญสมกรรมฐานจนได้ฌาน และเมื่อละจากโลกนี้แล้ว ย่อมไปเกิดเป็นเทพชั้นสูงในพรหมโลก ๒.ถือเอาความหมายอันประเสริฐ ใช้เปรียบบุคคลที่มี คุณธรรมสูงให้เป็นพรหม 2.พระพรหมในฐานะที่เป็นธรรมาธิษฐาน คือ การยกเอาหัวข้อธรรมมาแสดงเป็นพรหม หรือเป็น ปฏิปทาที่เป็นหนทางนําไปสู่ความเป็นพรหม คือ โสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล และ อรหัตตผล พรหมกับระบบวรรณะ ระบบวรรณะเกิดขึ้นในยุคพระเวท และความเชื่อและ การปฏิบัติในเรื่องนี้ได้สืบต่อมา โดยพวกพราหมณ์อ้างว่าพวกตนนั้นมาจากพระพรหม และได้ ยกเรื่องวรรณะ ๔ ซึ่งมีสอนไว้ในสมัยพระเวท อันเนื่องจากการแบ่งหน้าที่การงานกันให้ ศักดิ์สิทธิ์และจริงจังขึ้นมา โดยสอนว่าเป็นความจริงที่พวกพราหมณ์เกิดมากจากพระโอษฐ์ของ พระพรหม กษัตริย์เกิดมากจากพระพาหาของพระพรหม แพศย์เกิดมาจากพระโสณีของพระ พรหม และศูทร์เกิดมาจากพระบาทของพระพรหม โดยการกล่าวอ้างเช่นนี้พวกพราหมณ์จึงเป็น วรรณะประเสริฐสุด เหนือกว่าพวกวรรณะอื่นๆ มีหน้าที่สอนพระเวทอันศักดิ์สิทธิ์ให้แก่วรรณะ ต่างๆ เพราะเกิดมาจากพระโอษฐ์ของพระพรหม ดังนั้นพวกวรรณะอื่นๆ จะต้องเคารพยกย่อง และอุปถัมภ์พวกวรรณะพราหมณ์ เมื่อพวกพราหมณ์ถือตัวว่าสูงส่งดังกล่าว จึงผูกขาดพิธีกรรม ว่าทําได้เฉพาะพวกพราหมณ์เท่านั้น วรรณะอื่นไม่มีสิทธิ์ที่จะกระทําได้ จากการศึกษาหลักคําสอนเรื่องพรหมของศาสนาพราหมณ์และพระพุทธศาสนา พบว่าคําสอนทั้งสองมีความเชื่อมโยงกันอย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะในประเด็นเรื่องพรหมที่เป็นบุคลาธิษฐานประเภทที่มีตัวตน อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าหลักคําสอนของทั้ง 2 ศาสนา จะมีความคล้ายคลึงกัน แต่พระพุทธเจ้าก็ไม่ได้เห็นด้วยกับคติความเชื่อเรื่องพรหมของพวกพราหมณ์ทั้งหมด พระพุทธองค์ทรงปรับแนวคิดเรื่องพรหมให้มีความเป็นเหตุเป็นผล มีความน่าเชื่อถือมีที่มาที่ไป สามารถ อธิบายได้แม้อยู่ในบริบทสังคมของพวกพราหมณ์เอง พรหมในทัศนะของ พระพุทธองค์เป็น เพียงสัตว์โลกชนิดหนึ่ง ที่ไปเกิดเป็นพรหมอยู่ ณ สวรรค์ชั้นต่างๆ ในพรหมโลก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
History in education about differences of Brahma in Buddhism and Brahmanism caused by 2 ศาสนาน have different beliefs. Buddhism has the prominent features different from other religions with reason, important.A religion that give priority to human, and confirmed in the potential that can be developed. The basic belief that all human wisdom has the ability to cultivate or develop until can comprehend the truth.To enter intellectual independence truly with the human body. Without the need to rely on. Gods and sacred to inspire has to happen.The one and only, that is God the creator of earth and all the variety in the world, the beginning scene of all things. And also believe that Brahma is the set of all human life. For this reason.Study on the difference of Brahma in Brahmanism and Buddhism Religion. That there are similarities and differ. In order to make a correct understanding on the philosophy concept about the prom.The principles of teaching, which makes us who are Buddhists, they understood. And can adjust posture and conduct to the right, not superstition, obsessed with what the Buddha is not taught to behave.Brahma in Brahmanism means growth, broken branches wide out meaning of prom in the initial that refers to the sacred knowledge Or magic. The wonderful things later in the first period of the Upanishads.Prayer, including sacred energy. And in the Upanishads era after word Brahma, the development of the meaning is the ultimate reality or อันติม, which has evolved into the world, and it is worth the experience of all things in the world. A kind of carpet.The two species is personification and humanism 1 Prom prom.Prom prom is personification is a primary cause of the world is all things by Prom Prom this type of well qualified and equipped with everything you're really fantastic. Be able to depict is a creative Panyu land, he shaped like both.And in the future. There is nothing that he didn't know and he is everywhere, 2.Humanism prom. Humanism is a look at the prom prom in terms โลกุตระ or the called telephone operator Brahman represents Brahman without qualification. The Brahmin holds Prom this type of a data restoration of all things, is the source of all things.It is for the red to appear of things perfect. The true features of Brahman in this manner may not use language description. Because that is what the above words or language, praised like both 2 types cannot be separated, because the condition.The practice for the Brahma in Brahmanism The supreme goal of the Brahmin is Moksa or liberation, which means the condition. That life is to combine with Brahman, or unity with Brahman, who aimed to moksha or liberationBut the method used. To reach the destination that vary according to the type of person. Beliefs about the prom in Buddhism, the meaning of Brahma is big, grow flourish. The meaning of words is expanded.The most glorious, the pure type of Brahma, the prom in the viewpoint of Buddhism, divided as 2 types Prom as The personification and the Brahma as humanism, which details are as follows 1.Brahma as personification. The prom as a personification can be divided into two categories: 1.Take the meaning of a person's Prom refers to a type of creature But an angel as a result of the high growth of meditation and contemplation, and when it from this world is born as the class in the earth. 2.Equate meaning precious use compared to individuals with high morality to prom 2.Brahma as humanism is to lift the item fair show a prom or a behaviour that lead to the prom. โสดาปัตติผล สกทาคามิผล. อนาคามิผล. And อรหัต fail, prom with the caste systemAnd belief and practice in this place. By those Brahmins claimed that they come from Brahma, and raised about caste. 4, which is taught in ancient Vedic. Due to assign the work together.By teaching that is the fact that the Brahmin was born from the mouth of the Brahma, the king was born from พระพา find of Brahma). M was born from the probability of the Brahma and zero, born from the majesty of Brahma).The most glorious caste over the other castes Has taught Vedic holy to various castes. Because born from the mouth of the Brahma, so the other castes to worthy. And fostering the Brahman caste.So monopoly ritual. Why only the Brahmins. Other castes are not allowed to carry. The doctrine of Brahmanism and Buddhism for prom Found that teaching both are interlinked obviously.However, even though the doctrine of the 2 religion, there are similarities. But it didn't agree with the beliefs of the Brahmin prom. The Buddha adjust the concept of PROM to have their rationalityCan explain even in the context of the Brahmin. Prom in the opinion of the Buddha. Is just a kind of creatures to a prom. At the heaven in the prom.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: