เฉาก๊วยแท้ๆ จะทำมาจากต้นเฉาก๊วย ซึ่งเป็นพืชชนิดหนึ่งในตระกูลเดียวกับมิ การแปล - เฉาก๊วยแท้ๆ จะทำมาจากต้นเฉาก๊วย ซึ่งเป็นพืชชนิดหนึ่งในตระกูลเดียวกับมิ อังกฤษ วิธีการพูด

เฉาก๊วยแท้ๆ จะทำมาจากต้นเฉาก๊วย ซึ่

เฉาก๊วยแท้ๆ จะทำมาจากต้นเฉาก๊วย ซึ่งเป็นพืชชนิดหนึ่งในตระกูลเดียวกับมินต์ (พืชจำพวกสะระแหน่) พบได้มากในประเทศจีน จึงทำให้ขนมเฉาก๊วยมีที่มาจากเมืองจีน และมีชื่อเรียกเป็นภาษาจีน (แต้จิ๋ว) แต่ก็ยังมีการเรียกที่แตกต่างกันออกไปตามภาษาถิ่นอีกด้วย อาทิ ในภาษาจีนกลางจะเรียกว่า เหลียงเฝิ่น หรือ เซียนเฉ่า ที่แปลว่าหญ้าเทวดา ขณะที่ชาวมาเลย์จะเรียกว่า จินเจา เป็นต้น ส่วนภาษาไทยเราก็เรียกว่า เฉาก๊วย ตามอย่างภาษาจีนแต้จิ๋ว

ความหนึบหนับของเฉาก๊วยนั้นมาจากกรรมวิธีการผลิตที่เริ่มจากนำต้นเฉาก๊วยแห้งมาต้มกับน้ำ จนยางไม้และแพคตินละลายออกมาได้น้ำสีน้ำตาลดำ (ปัจจุบันบางร้านอาจมีการใส่สีลงไปผสมเพิ่มเติมเพื่อความสวยงาม) จากนั้นกรองเอาแต่น้ำแล้วนำไปผสมกับแป้ง ซึ่งตามตำรับโบราณนิยมใช้แป้งท้าวยายม่อม และแป้งมันสำปะหลัง ตามสัดส่วนหรือตามสูตรของแต่ละคน ซึ่งจะทำให้ได้ความเหนียวหนึบนุ่มนิ่มที่แตกต่างกัน นิยมกินคู่กับน้ำตาลทรายแดง น้ำเชื่อม หรือจะใส่ส่วนผสมอื่นๆ ลงไปตามแต่ความชอบ

สรรพคุณของเฉาก๊วยที่เรารู้กันดีอยู่แล้วก็คือ ช่วยแก้ร้อนในกระหายน้ำ นอกจากนี้แล้วยังช่วยขับเสมหะ แก้คลื่นไส้ เบื่ออาหาร ช่วยลดไข้ แก้ตัวร้อน ร้อนใน ลดอาการกล้ามเนื้ออักเสบ ลดอาการตับอักเสบ ลดอาการไขข้ออักเสบ และช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด หรือหากว่านำเฉาก๊วยมาต้มให้เดือดแล้วนำน้ำเฉาก๊วยมาดื่มเป็นประจำจะช่วยลดอาการโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน แต่ข้อควรระวังก็คือ น้ำตาลที่ใส่ผสมลงไปเพื่อให้มีรสชาติเพิ่มขึ้นนั้นต้องไม่มากเกินไปด้วย เพราะแทนที่จะได้ประโยชน์ อาจจะได้ผลเสียจากการบริโภคน้ำตาลมากเกินไปได้

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เฉาก๊วยแท้ๆ จะทำมาจากต้นเฉาก๊วย ซึ่งเป็นพืชชนิดหนึ่งในตระกูลเดียวกับมินต์ (พืชจำพวกสะระแหน่) พบได้มากในประเทศจีน จึงทำให้ขนมเฉาก๊วยมีที่มาจากเมืองจีน และมีชื่อเรียกเป็นภาษาจีน (แต้จิ๋ว) แต่ก็ยังมีการเรียกที่แตกต่างกันออกไปตามภาษาถิ่นอีกด้วย อาทิ ในภาษาจีนกลางจะเรียกว่า เหลียงเฝิ่น หรือ เซียนเฉ่า ที่แปลว่าหญ้าเทวดา ขณะที่ชาวมาเลย์จะเรียกว่า จินเจา เป็นต้น ส่วนภาษาไทยเราก็เรียกว่า เฉาก๊วย ตามอย่างภาษาจีนแต้จิ๋ว ความหนึบหนับของเฉาก๊วยนั้นมาจากกรรมวิธีการผลิตที่เริ่มจากนำต้นเฉาก๊วยแห้งมาต้มกับน้ำ จนยางไม้และแพคตินละลายออกมาได้น้ำสีน้ำตาลดำ (ปัจจุบันบางร้านอาจมีการใส่สีลงไปผสมเพิ่มเติมเพื่อความสวยงาม) จากนั้นกรองเอาแต่น้ำแล้วนำไปผสมกับแป้ง ซึ่งตามตำรับโบราณนิยมใช้แป้งท้าวยายม่อม และแป้งมันสำปะหลัง ตามสัดส่วนหรือตามสูตรของแต่ละคน ซึ่งจะทำให้ได้ความเหนียวหนึบนุ่มนิ่มที่แตกต่างกัน นิยมกินคู่กับน้ำตาลทรายแดง น้ำเชื่อม หรือจะใส่ส่วนผสมอื่นๆ ลงไปตามแต่ความชอบ สรรพคุณของเฉาก๊วยที่เรารู้กันดีอยู่แล้วก็คือ ช่วยแก้ร้อนในกระหายน้ำ นอกจากนี้แล้วยังช่วยขับเสมหะ แก้คลื่นไส้ เบื่ออาหาร ช่วยลดไข้ แก้ตัวร้อน ร้อนใน ลดอาการกล้ามเนื้ออักเสบ ลดอาการตับอักเสบ ลดอาการไขข้ออักเสบ และช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด หรือหากว่านำเฉาก๊วยมาต้มให้เดือดแล้วนำน้ำเฉาก๊วยมาดื่มเป็นประจำจะช่วยลดอาการโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน แต่ข้อควรระวังก็คือ น้ำตาลที่ใส่ผสมลงไปเพื่อให้มีรสชาติเพิ่มขึ้นนั้นต้องไม่มากเกินไปด้วย เพราะแทนที่จะได้ประโยชน์ อาจจะได้ผลเสียจากการบริโภคน้ำตาลมากเกินไปได้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Know the lanes.Know the lanes.Know the lanes.Know the lanes.Know the lanes.Know the lanes.Know the lanes.Know the lanes.Know the lanes.Know the lanes.Know the lanes.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: