The splendid cathedral. Wat phumin, Nan provinceThe splendid cathedral. Wat phumin, Nan provinceMurals Wat phumin, Nan provinceMurals Wat phumin murals of WAT phumin, Nan province nan Province. Wat phuminวัดภูมินทร์ อยู่ใกล้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่านเป็นวัดที่มีลักษณะแปลกกว่าวัดอื่น ๆ คือ โบสถ์และวิหาร สร้างเป็นอาคารหลังเดียวกัน ประตูไม้ทั่งสี่ทิศ แกะสลักลวดลายงดงามโดยฝีมือช่างเมืองน่าน นอกจากนี้ฝาผนังแสดงถึงชีวิตและวัฒนธรรมของยุดสมัยที่ผ่านมาความสวยแปลกของวัดภูมินทร์ คือ เป็นพระอุโบสถและพระวิหารสร้างเป็นอาคารหลังเดียวกัน เป็นทรงจัตุรมุข (กรมศิลปากร ได้สันนิษฐานว่าเป็นอุโบสถจัตุรมุขหลังแรกของประเทศไทย) นาคสะดุ้งขนาดใหญ่ แห่แหนพระอุโบสถเทินไว้บนกลางลำตัว ตรงใจกลางพระอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยขนาดใหญ่สี่องค์ ประทับนั่งบนฐานชุกชี หันพระพักตร์ออกด้านประตู ทั้งสี่ทิศ เบื้องพระปฤษฎางค์ชนกัน ภายในพระอุโบสถ มีภาพจิตรกรรมฝาผนังศิลปกรรมไทลื้อ ที่เล่าเรื่องชาดก ตำนานพื้นบ้าน และความเป็นอยู่ของชาวน่านในอดีตThe history of the temple. ตามพงศาวดารเมืองน่าน วัดภูมินทร์สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2139 โดยพระเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ หลังจากที่พระองค์ทรงครองนครน่านได้ 6 ปี มีปรากฏในคัมภีร์เมืองเหนือว่า เดิมชื่อ “วัดพรหมมินทร์” ซึ่งเป็นชื่อของเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ ผู้สร้างแต่ตอนหลังชื่อวัดได้เพี้ยนไปจากเดิมเป็นวัดภูมินทร์ วัดแห่งนี้ได้รับการบูรณะครั้งใหญ่เมื่อ พ.ศ. 2410 หลังจากที่สร้างมา 271 ปี โดยเจ้าอนันตวรฤทธิเดช เจ้าผู้ครองนครน่าน โปรดให้ซ่อมแซมครั้งใหญ่แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2418 (ปลายสมัยรัชกาลที่ 4) ใช้เวลาซ่อมนานถึง 7 ปี จิตรกรรมฝาผนังในวิหารหลวงก็เขียนขึ้นในช่วงนี้ ภาพจิตรกรรมหรือ “ฮูบแต้ม” ในวัดภูมินทร์เป็นชาดกในพุทธศาสนาแต่ถ้าพิจารณารายละเอียดของวิถีชีวิตของคนเมืองในสมัยนั้นTop things to do.The Cathedral is a splendid architectural Lanna special beauty. by bringing the Church and Cathedral buildings, build combined into the same. The splendid staircase and figure out the direction of the four-door handrail is a serpent-shaped stucco facing up to the future on the head inside the Cathedral there is a stucco Buddha image in the posture of Buddha facing elements, four large man wichai pritdang (rear) collide. Afternoon to face the entrance to all four directions Phra pritdang Chedi is the base behind the rectangular recess of twelve.จิตรกรรมฝาผนัง ภาพวาดปรากฏอยู่บนผนังด้านในวิหารจัตุรมุขทั้งสี่ด้าน ผนังด้านทิศเหนือ ตะวันออก และใต้ เป็นภาพพระพุทธเจ้าประทับนั่งปางมารวิชัย มีพระสาวกนั่งข้างละสององค์ สันนิษฐานว่าคงเป็นตอนที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเทศนา และต่ำลงมาได้เขียนเป็นภาพขนาดเล็กเล่าเรื่อง “คันธกุมารชาดก”ต่อเนื่องกันตลอดทั้งสามด้าน ส่วนผนังด้านทิศตะวันตก ตอนบนเป็นภาพพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานในปางไสยาสน์ มีพระสาวกแสดงอาการเศร้าโศกอยู่สี่องค์ ตอนล่างลงมาเป็นภาพเล่าเรื่อง “พระเตมีราชชาดก” นอกจากนี้ยังมีภาพจิตรกรรมซึ่งโดดเด่นเป็นพิเศษคือ ภาพเหมือนบุคคลและภาพวิถีชีวิตชาวน่านในอดีต ที่น่าสนใจ ได้แก่1. at the left hand side of the door pillars, the amount the East. Scholars assumed that seems to be a portrait of Lord Ananta wonritthi Det. This made the improvement measure.2. the right of the door wall North group of men and women stand photo tease lovemaking together. Illustrate the living conditions and dress in the past. Note that the technician has put down onto the feelings a face in that discreet is always fully fenced. Unlike the job sector, Glagolitic frescoes in linear address space ngasin is the most famous and spectacular. Do not miss out.3. ภาพที่ยอดเสาขวามือของประตูด้านทิศตะวันตก เป็นภาพชายวัยกลางคนมีเคราดก ใบหน้าคล้ายชาวตะวันตก สวมเสื้อสีแดง สวมหมวก และสะพายย่าม สันนิษฐานว่าเป็นมิชชันนารีที่เข้ามาเผยแผ่ศาสนา4. ภาพบนผนังซ้ายมือของประตูด้านทิศตะวันตก เป็นรูปชายหนู่มหญิงสาวกำลังเกี้ยวพาราสีกัน ชายเปลือยอก เห็นรอยสักเต็มไปทั้งแขน ไหล่ หน้าอก พุง และหน้าขา เป็นการสักตามสมัยนิยม อันเป็นที่มาของการเรียกคนกลุ่มนี้ว่า “ลาวพุงดำ” ตำแหน่งของภาพจงใจเขียนให้อยู่ข้างหลังประตู และเขียนอยู่างประณีตมาก น่าจะเป็นภาพเหมือนของช่างวาดเอง ภาพนี้จัดเป็นภาพชิ้นเยี่ยม5. ภาพธรรมเนียมการอยู่ข่วง ของชาวไทลื้อ พ่อแม่ จะอนุญาตให้หนุ่มสาวพบปะกันที่ชานบ้านในเวลาค่ำ ขณะหญิงสาวกำลังปั่นฝ้าย หรือ “อยู่ข่วง” หากสาวเจ้าตกลงปลงใจด้วยก็จะจัดพิธีแต่งงาน หรือที่เรียกว่า “เอาคำ ไปป่องกั๋น” หรือเป็นทองแผ่นเดียวกัน การค้าขายแลกเปลี่ยนในชุมชน6. ภาพชาวพื้นเมือง ซึ่งอาจเป็นชาวเขา “เป๊อะ” ของป่าบนศรีษะ เพื่อนำมาแลกเปลี่ยนกับคนเมือง7. ภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนเมืองน่าน หญิงสาวกำลังทอผ้าด้วยกี่พื้นเมือง นอกชานมีเรือนเล็กๆตั้งหม้อน้ำดินเผาที่เรียกว่า “ร้านน้ำ” ส่วนชายหนุ่มไว้ผมทรงหลักแจวหรือทรงมหาดไทย แสดงให้เห็นอิทธิพลตะวันตกที่เข้ามาผสมผสานในวิถีพื้นเมืองน่าน8. ภาพชาวต่างประเทศ ที่เข้ามาเมืองน่านช่วงรัชกาลที่ 5 ทรงผม และเครื่องแต่งกายของผู้หญิงเป็นรูปแบบเดียวกับที่กำลังเป็นที่นิยมในยุโรปขณะนั้นที่ตั้ง ในตัวเมือง ต. ในเวียง อ. เมือง ใกล้ภิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติจังหวัดน่าน
การแปล กรุณารอสักครู่..