เรือนไทยหลังที่ 1 ชั้นล่างของเรือนไทยหลังที่ 1

เรือนไทยหลังที่ 1 ชั้นล่างของเรือนไ

เรือนไทยหลังที่ 1

ชั้นล่างของเรือนไทยหลังที่ 1 "พิพิธภัณฑ์ดนตรีทูลกระหม่อมบริพัตร" จักแสดงเครื่องดนตรีไทยของ " ทูลกระหม่อมบริพัตร" พระบิดาของเสด็จในกรมฯ ซึ่งได้แก่ ซอสามสาย ระนาดเอก ฆ้อง กลองโบราณ จะเข้ ฯลฯ ซึ่งจะมีลายละเอียดต่างๆ อยู่ภายในห้อง



ชั้นบนบริเวณระเบียงทางทิศเหนือ มีบานประตูโบสถ์ไม้สักแกะสลักเรื่องสังข์ทอง อายุราวสมัยรัตนโกสินทร์ (ราวปลายพุทธศตวรรษที่ 24) ด้านข้างประตูมีซุ้มเรือนแก้ว แกะสลักลายไทยปิดทอง มีช่องเล็กๆ สำหรับบรรจุพระเครื่องมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 22 ส่วนบนประตูและหน้าต่างมี ภาพไม้แกะสลักสมัยอยุธยาตอนปลาย(ราวพุทธศตวรรษที่ 21-22) จากซ้ายไปขวา มีภาพเกี่ยวกับพุทธศาสนา จากประเทศอินเดียไปสู่ตะวันออก โดยมีผู้ศรัทธาในพุทธศาสนานำเจดีย์จากประเทศอินเดีย พร้อมด้วยภาพแกะสลักพระเจ้า 9 พระองค์ และพระนารายณ์ 4 กร เหนือภาพแกะสลักมีหน้าบันทึกภาพพุทธประวัติบนบุษบก เหนือแม่น้ำเนรัญชรา

ภายในห้องด้านตะวันตก มีปราสาทเจ้าลอง ทำด้วยไม้แกะสลักลงรักติดกระจก ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปจาก 3 ประเทศ องค์แรกทางซ้ายเป็นพระพุทธรูปสมัยอู่ทอง (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 18-19) องค์กลางเป็นพระพุทธรูปจากประเทศอินเดีย ศิลปะคันธาราฐ (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 7-8) และพระพุทธรูปทางขวาได้มาจากประเทศพม่า อายุราวต้นสมัยรัตนโกสินทร์ ถัดมามีแจกันจากประเทศจีน สมัยราชวงศ์หมิงและชิง



บนฝาผนังรอบห้องมีอาวุธโบราณสมัยอยุธยา มุมห้องทั้งสี่มีอาวุธที่ใช้ในการรบบนหลังช้าง ในการทำยุทธหัตถี บนตู้ไม้แกะสลักทางด้านเหนือของห้อง มีเศียรเทวรูปสมัยสุโขทัย (ราวพุทธศตวรรษที่ 19-20) พบที่จังหวัดกำแพงเพชร มีตู้ไม้ซึ่งอยู่ชั้นบนแสดงเครื่องราชอิสริยาภรณ์สมัยรัชกาลที่ 2-4 เหรียญเงินสมัยรัชกาลที่ 5-9 และเหรียญที่ระลึกของอังกฤษและอเมริกา ชั้นล่างของตู้มีเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทั้งไทยและต่างประเทศ

เหนือตู้ด้านบนฝาผนังมีกรอบซุ้มเรือนแก้วเก็บพระเครื่องสมัยลพบุรี ซึ่งพบที่วัดราชบูรณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (วัดนี้สร้างราว พ.ศ. 1976 สันนิษฐานว่าพระเครื่องดังกล่าวมีอายุรุ่นเดียวกันกับวัดนี้)


ภาพเขียนที่แขวนอยู่เหนือประตูด้านทิศตะวันออกเป็นภาพเขียนพระบรมสาทิศลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ด้านข้างประตูมีตู้จัดแสดงเครื่องถมทองลายไทย ส่วนทางทิศใต้มีชั้นที่วางดาบแกะสลัก ถัดมาเป็นตู้จัดแสดงขวานหินโบราณยุคหิน สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ที่สำคัญบนตู้มีขวานโบราณพร้อมด้าม พบที่เกาะนิวกินี ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้รับความเอื้อเฟื้อจากมูลนิธิฟอร์ด

ระเบียงทางทิศตะวันออกมีตู้พระธรรมลายรดน้ำ สมัยรัตนโกสินทร์ ได้มาจากวัดสิงห์ จังหวัดปทุมธานี เหนือตู้พระธรรมบนฝาผนัง มีภาพเขียนสีเกี่ยวกับพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงเหตุการณ์หลังปรินิพาน โดยบางภาพมีรูปดอกบัวซึ่งเป็นสัญลักษณ์อันหมายถึงพระพุทธเจ้า

ตู้ที่อยู่ทางทิศเหนือของระเบียงมีภาชนะดินเผาสังคโลก ศิลปะสุโขทัย (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 19-20) บนหลังตู้มีภาชนะดินเผาสังคโลกที่ติดกัน เนื่องจากการทับถมกันขณะที่ได้รับความร้อนในเตาเผา เมื่อนำภาชนะดินเผาออกจากเตาก็จะติดกัน ถัดมามีหินแกะสลักพร้อมฐาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพระธรรมจักร มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 12-18 ตรงระเบียงด้านตะวันตก มีเศียรพระพุทธรูปสมัยทวาราวดีผสมลพบุรีและหินแกะสลักศลปะขอม ได้มาจากปราสาทหินพิมาย

ในห้องถัดมาจัดแสดงเทวรูปศิลปะขอม โดยเทวรูปที่ตั้งอยู่กลางห้องเป็นเทวรูปของพระศิวะ (ด้านขวา) และพระอุมา (ด้านซ้าย) ซึ่งทั้ง 2 องค์รวมอยู่ในร่างเดียวกัน เรียกว่า "อรรธนารีศวร" จัดเป็นศิลปะขอมแบบบายน (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 17-18) ที่สำคัญตรงมุมด้านซ้ายของห้องเทวรูปของพระนางอุมา (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 12) ซึ่งคุณท่านได้มาจาก อำเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดสระแก้ว) นับเป็นปฏิมากรรมแกะสลักจากหินทราย ศิลปะขอมที่สวยงาม และหาชมได้ยาก ด้านบนฝาผนังมีภาพพระบฎแสดงการเสด็จกลับลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ของพระพุทธเจ้า สมัยต้นรัตนโกสินทร์

เรือนไทยหลังที่ 2

จากเรือนไทยหลังที่ 1 จะมีสะพานเชื่อมติดต่อถึงเรือนไทยหลังที่ 2 -4 ซึ่งจัดรวมเป็นหมู่เรือนไทย บนหน้าบันของระเบียงมีตราประจำพระองค์เป็นรูปช้างสามเศียร ของสมเด็จพระนางเจ้าสุขุ มาลมารศรี พระอัครราชเทวีในรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นสมเด็จพระอัยกี (ย่า) ของเสด็จในกรมฯ

ด้านหน้าของระเบียงทางเดินมีฉาก (ลับแล) ซึ่งด้านหน้ามีภาพเขียนสีแสดงป่าหิมพานต์ และด้านหลังเป็นเรื่องพระเวชสันดรชาดก

ถัดมาทางด้านขวาจะเป็นบริเวณชานเรือนหลังที่ 2 มีตู้พระธรรมลายรดน้ำ สมัยอยุธยาซึ่งได้มาจากวัดบ้านกลิ้ง จังหวัดอยุธยาพร้อมกับหอเขียน มีสัปคับหรือกูบ (ที่นั่งบนหลังช้าง) และงาช้างคู่ ซึ่งได้รับทูลเกล้าจากเจ้าน่าน บนฝาผนังจัดแสดงตาลปัตรราชสกุลบริพัตร และตาลปัตรที่ทำขึ้นเป็นที่รำลึกในพระราชพิธีต่างๆ

เรือนไทยหลังที่ 2 จัดตกแต่งเป็นเรือนรับรอง ภายในห้องด้านเหนือมีเตียง หมอนขวาน บนเตียงมีฉลองพระองค์ครุยของเจ้านายชายและผ้ากรองทองสำหรับเจ้านายหญิง เมื่อมีการแต่งองค์เต็มยศตามแบบโบราณ

มุมห้องด้านใต้ข้างประตู มีคันฉ่องซึ่งมีกรอบไม้แกะสลักลายไทย จีน และฝรั่งเศส ปิดทองด้านหน้าคันฉ่องมีหงส์ 1 คู่ ประดับไฟ 2 ดวงหน้าหงส์

ถัดมาทางทิศใต้ของห้องบนตู้มีพานประดับมุกซ้อนกัน 4 ใบ ภายในตู้ชั้นบนมีตลับงาช้าง สำหรับใส่สีผึ้งและแป้ง มีงาช้างแกะสลักลายไทยปิดทอง ถัดมาทิศตะวันตก มีตู้แกะสลักลายไทยปิดทอง ภายในชั้นบนของตู้มีถ้วยเงินลายทอง ชั้นกลางและชั้นล่างมีเครื่องแก้วเจียระไนจากยุโรปส่วนด้านหลังตู้มีตะลุ่มประดับมุก

ด้านเหนือของห้อง มีตะลุ่มประดับมุกวางอยู่บนตู้สลักลายไทยปิดทอง ในตู้ชั้นบนมีพระรูปของเสด็จในกรมฯ พระบรมรูปแกะสลักจากงาช้างของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และพระรูปของ หม่อมเจ้าหญิงมารศีสุขุมพันธุ์ บริพัตร ชั้นล่างมีปั้นกาน้ำ ตระกร้าหญ้าลิเภา และจานหมูที่สมเด็จพระศรีนคริ นทราบรมราชชนนีพระราชทานไว้ ตู้ชั้นล่างมีปิ่นโตเงินลงยาลายนูนจากประเทศจีน กระโถนเครื่องถมและกระโถนเบญจรงค์ริมประตูด้านตะวันออกมีพระฉายแขวน (กระจกส่องหน้า) และตู้เก็บเครื่องแก้วเจียระไนรวมทั้งขวดน้ำห
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เรือนไทยหลังที่ 1 ชั้นล่างของเรือนไทยหลังที่ 1 "พิพิธภัณฑ์ดนตรีทูลกระหม่อมบริพัตร" จักแสดงเครื่องดนตรีไทยของ " ทูลกระหม่อมบริพัตร" พระบิดาของเสด็จในกรมฯ ซึ่งได้แก่ ซอสามสาย ระนาดเอก ฆ้อง กลองโบราณ จะเข้ ฯลฯ ซึ่งจะมีลายละเอียดต่างๆ อยู่ภายในห้อง ชั้นบนบริเวณระเบียงทางทิศเหนือ มีบานประตูโบสถ์ไม้สักแกะสลักเรื่องสังข์ทอง อายุราวสมัยรัตนโกสินทร์ (ราวปลายพุทธศตวรรษที่ 24) ด้านข้างประตูมีซุ้มเรือนแก้ว แกะสลักลายไทยปิดทอง มีช่องเล็กๆ สำหรับบรรจุพระเครื่องมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 22 ส่วนบนประตูและหน้าต่างมี ภาพไม้แกะสลักสมัยอยุธยาตอนปลาย(ราวพุทธศตวรรษที่ 21-22) จากซ้ายไปขวา มีภาพเกี่ยวกับพุทธศาสนา จากประเทศอินเดียไปสู่ตะวันออก โดยมีผู้ศรัทธาในพุทธศาสนานำเจดีย์จากประเทศอินเดีย พร้อมด้วยภาพแกะสลักพระเจ้า 9 พระองค์ และพระนารายณ์ 4 กร เหนือภาพแกะสลักมีหน้าบันทึกภาพพุทธประวัติบนบุษบก เหนือแม่น้ำเนรัญชรา
ภายในห้องด้านตะวันตก มีปราสาทเจ้าลอง ทำด้วยไม้แกะสลักลงรักติดกระจก ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปจาก 3 ประเทศ องค์แรกทางซ้ายเป็นพระพุทธรูปสมัยอู่ทอง (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 18-19) องค์กลางเป็นพระพุทธรูปจากประเทศอินเดีย ศิลปะคันธาราฐ (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 7-8) และพระพุทธรูปทางขวาได้มาจากประเทศพม่า อายุราวต้นสมัยรัตนโกสินทร์ ถัดมามีแจกันจากประเทศจีน สมัยราชวงศ์หมิงและชิง



บนฝาผนังรอบห้องมีอาวุธโบราณสมัยอยุธยา มุมห้องทั้งสี่มีอาวุธที่ใช้ในการรบบนหลังช้าง ในการทำยุทธหัตถี บนตู้ไม้แกะสลักทางด้านเหนือของห้อง มีเศียรเทวรูปสมัยสุโขทัย (ราวพุทธศตวรรษที่ 19-20) พบที่จังหวัดกำแพงเพชร มีตู้ไม้ซึ่งอยู่ชั้นบนแสดงเครื่องราชอิสริยาภรณ์สมัยรัชกาลที่ 2-4 เหรียญเงินสมัยรัชกาลที่ 5-9 และเหรียญที่ระลึกของอังกฤษและอเมริกา ชั้นล่างของตู้มีเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทั้งไทยและต่างประเทศ

เหนือตู้ด้านบนฝาผนังมีกรอบซุ้มเรือนแก้วเก็บพระเครื่องสมัยลพบุรี ซึ่งพบที่วัดราชบูรณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (วัดนี้สร้างราว พ.ศ. 1976 สันนิษฐานว่าพระเครื่องดังกล่าวมีอายุรุ่นเดียวกันกับวัดนี้)


ภาพเขียนที่แขวนอยู่เหนือประตูด้านทิศตะวันออกเป็นภาพเขียนพระบรมสาทิศลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ด้านข้างประตูมีตู้จัดแสดงเครื่องถมทองลายไทย ส่วนทางทิศใต้มีชั้นที่วางดาบแกะสลัก ถัดมาเป็นตู้จัดแสดงขวานหินโบราณยุคหิน สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ที่สำคัญบนตู้มีขวานโบราณพร้อมด้าม พบที่เกาะนิวกินี ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้รับความเอื้อเฟื้อจากมูลนิธิฟอร์ด

ระเบียงทางทิศตะวันออกมีตู้พระธรรมลายรดน้ำ สมัยรัตนโกสินทร์ ได้มาจากวัดสิงห์ จังหวัดปทุมธานี เหนือตู้พระธรรมบนฝาผนัง มีภาพเขียนสีเกี่ยวกับพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงเหตุการณ์หลังปรินิพาน โดยบางภาพมีรูปดอกบัวซึ่งเป็นสัญลักษณ์อันหมายถึงพระพุทธเจ้า

ตู้ที่อยู่ทางทิศเหนือของระเบียงมีภาชนะดินเผาสังคโลก ศิลปะสุโขทัย (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 19-20) บนหลังตู้มีภาชนะดินเผาสังคโลกที่ติดกัน เนื่องจากการทับถมกันขณะที่ได้รับความร้อนในเตาเผา เมื่อนำภาชนะดินเผาออกจากเตาก็จะติดกัน ถัดมามีหินแกะสลักพร้อมฐาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพระธรรมจักร มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 12-18 ตรงระเบียงด้านตะวันตก มีเศียรพระพุทธรูปสมัยทวาราวดีผสมลพบุรีและหินแกะสลักศลปะขอม ได้มาจากปราสาทหินพิมาย

ในห้องถัดมาจัดแสดงเทวรูปศิลปะขอม โดยเทวรูปที่ตั้งอยู่กลางห้องเป็นเทวรูปของพระศิวะ (ด้านขวา) และพระอุมา (ด้านซ้าย) ซึ่งทั้ง 2 องค์รวมอยู่ในร่างเดียวกัน เรียกว่า "อรรธนารีศวร" จัดเป็นศิลปะขอมแบบบายน (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 17-18) ที่สำคัญตรงมุมด้านซ้ายของห้องเทวรูปของพระนางอุมา (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 12) ซึ่งคุณท่านได้มาจาก อำเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดสระแก้ว) นับเป็นปฏิมากรรมแกะสลักจากหินทราย ศิลปะขอมที่สวยงาม และหาชมได้ยาก ด้านบนฝาผนังมีภาพพระบฎแสดงการเสด็จกลับลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ของพระพุทธเจ้า สมัยต้นรัตนโกสินทร์

เรือนไทยหลังที่ 2

จากเรือนไทยหลังที่ 1 จะมีสะพานเชื่อมติดต่อถึงเรือนไทยหลังที่ 2 -4 ซึ่งจัดรวมเป็นหมู่เรือนไทย บนหน้าบันของระเบียงมีตราประจำพระองค์เป็นรูปช้างสามเศียร ของสมเด็จพระนางเจ้าสุขุ มาลมารศรี พระอัครราชเทวีในรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นสมเด็จพระอัยกี (ย่า) ของเสด็จในกรมฯ

ด้านหน้าของระเบียงทางเดินมีฉาก (ลับแล) ซึ่งด้านหน้ามีภาพเขียนสีแสดงป่าหิมพานต์ และด้านหลังเป็นเรื่องพระเวชสันดรชาดก

ถัดมาทางด้านขวาจะเป็นบริเวณชานเรือนหลังที่ 2 มีตู้พระธรรมลายรดน้ำ สมัยอยุธยาซึ่งได้มาจากวัดบ้านกลิ้ง จังหวัดอยุธยาพร้อมกับหอเขียน มีสัปคับหรือกูบ (ที่นั่งบนหลังช้าง) และงาช้างคู่ ซึ่งได้รับทูลเกล้าจากเจ้าน่าน บนฝาผนังจัดแสดงตาลปัตรราชสกุลบริพัตร และตาลปัตรที่ทำขึ้นเป็นที่รำลึกในพระราชพิธีต่างๆ

เรือนไทยหลังที่ 2 จัดตกแต่งเป็นเรือนรับรอง ภายในห้องด้านเหนือมีเตียง หมอนขวาน บนเตียงมีฉลองพระองค์ครุยของเจ้านายชายและผ้ากรองทองสำหรับเจ้านายหญิง เมื่อมีการแต่งองค์เต็มยศตามแบบโบราณ

มุมห้องด้านใต้ข้างประตู มีคันฉ่องซึ่งมีกรอบไม้แกะสลักลายไทย จีน และฝรั่งเศส ปิดทองด้านหน้าคันฉ่องมีหงส์ 1 คู่ ประดับไฟ 2 ดวงหน้าหงส์

ถัดมาทางทิศใต้ของห้องบนตู้มีพานประดับมุกซ้อนกัน 4 ใบ ภายในตู้ชั้นบนมีตลับงาช้าง สำหรับใส่สีผึ้งและแป้ง มีงาช้างแกะสลักลายไทยปิดทอง ถัดมาทิศตะวันตก มีตู้แกะสลักลายไทยปิดทอง ภายในชั้นบนของตู้มีถ้วยเงินลายทอง ชั้นกลางและชั้นล่างมีเครื่องแก้วเจียระไนจากยุโรปส่วนด้านหลังตู้มีตะลุ่มประดับมุก

ด้านเหนือของห้อง มีตะลุ่มประดับมุกวางอยู่บนตู้สลักลายไทยปิดทอง ในตู้ชั้นบนมีพระรูปของเสด็จในกรมฯ พระบรมรูปแกะสลักจากงาช้างของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และพระรูปของ หม่อมเจ้าหญิงมารศีสุขุมพันธุ์ บริพัตร ชั้นล่างมีปั้นกาน้ำ ตระกร้าหญ้าลิเภา และจานหมูที่สมเด็จพระศรีนคริ นทราบรมราชชนนีพระราชทานไว้ ตู้ชั้นล่างมีปิ่นโตเงินลงยาลายนูนจากประเทศจีน กระโถนเครื่องถมและกระโถนเบญจรงค์ริมประตูด้านตะวันออกมีพระฉายแขวน (กระจกส่องหน้า) และตู้เก็บเครื่องแก้วเจียระไนรวมทั้งขวดน้ำห
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
เรือนไทยหลังที่ 1

ชั้นล่างของเรือนไทยหลังที่ 1 "พิพิธภัณฑ์ดนตรีทูลกระหม่อมบริพัตร" จักแสดงเครื่องดนตรีไทยของ " ทูลกระหม่อมบริพัตร" พระบิดาของเสด็จในกรมฯ ซึ่งได้แก่ ซอสามสาย ระนาดเอก ฆ้อง กลองโบราณ จะเข้ ฯลฯ ซึ่งจะมีลายละเอียดต่างๆ อยู่ภายในห้อง



ชั้นบนบริเวณระเบียงทางทิศเหนือ มีบานประตูโบสถ์ไม้สักแกะสลักเรื่องสังข์ทอง อายุราวสมัยรัตนโกสินทร์ (ราวปลายพุทธศตวรรษที่ 24) ด้านข้างประตูมีซุ้มเรือนแก้ว แกะสลักลายไทยปิดทอง มีช่องเล็กๆ สำหรับบรรจุพระเครื่องมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 22 ส่วนบนประตูและหน้าต่างมี ภาพไม้แกะสลักสมัยอยุธยาตอนปลาย(ราวพุทธศตวรรษที่ 21-22) จากซ้ายไปขวา มีภาพเกี่ยวกับพุทธศาสนา จากประเทศอินเดียไปสู่ตะวันออก โดยมีผู้ศรัทธาในพุทธศาสนานำเจดีย์จากประเทศอินเดีย พร้อมด้วยภาพแกะสลักพระเจ้า 9 พระองค์ และพระนารายณ์ 4 กร เหนือภาพแกะสลักมีหน้าบันทึกภาพพุทธประวัติบนบุษบก เหนือแม่น้ำเนรัญชรา

ภายในห้องด้านตะวันตก มีปราสาทเจ้าลอง ทำด้วยไม้แกะสลักลงรักติดกระจก ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปจาก 3 ประเทศ องค์แรกทางซ้ายเป็นพระพุทธรูปสมัยอู่ทอง (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 18-19) องค์กลางเป็นพระพุทธรูปจากประเทศอินเดีย ศิลปะคันธาราฐ (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 7-8) และพระพุทธรูปทางขวาได้มาจากประเทศพม่า อายุราวต้นสมัยรัตนโกสินทร์ ถัดมามีแจกันจากประเทศจีน สมัยราชวงศ์หมิงและชิง



บนฝาผนังรอบห้องมีอาวุธโบราณสมัยอยุธยา มุมห้องทั้งสี่มีอาวุธที่ใช้ในการรบบนหลังช้าง ในการทำยุทธหัตถี บนตู้ไม้แกะสลักทางด้านเหนือของห้อง มีเศียรเทวรูปสมัยสุโขทัย (ราวพุทธศตวรรษที่ 19-20) พบที่จังหวัดกำแพงเพชร มีตู้ไม้ซึ่งอยู่ชั้นบนแสดงเครื่องราชอิสริยาภรณ์สมัยรัชกาลที่ 2-4 เหรียญเงินสมัยรัชกาลที่ 5-9 และเหรียญที่ระลึกของอังกฤษและอเมริกา ชั้นล่างของตู้มีเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทั้งไทยและต่างประเทศ

เหนือตู้ด้านบนฝาผนังมีกรอบซุ้มเรือนแก้วเก็บพระเครื่องสมัยลพบุรี ซึ่งพบที่วัดราชบูรณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (วัดนี้สร้างราว พ.ศ. 1976 สันนิษฐานว่าพระเครื่องดังกล่าวมีอายุรุ่นเดียวกันกับวัดนี้)


ภาพเขียนที่แขวนอยู่เหนือประตูด้านทิศตะวันออกเป็นภาพเขียนพระบรมสาทิศลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ด้านข้างประตูมีตู้จัดแสดงเครื่องถมทองลายไทย ส่วนทางทิศใต้มีชั้นที่วางดาบแกะสลัก ถัดมาเป็นตู้จัดแสดงขวานหินโบราณยุคหิน สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ที่สำคัญบนตู้มีขวานโบราณพร้อมด้าม พบที่เกาะนิวกินี ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้รับความเอื้อเฟื้อจากมูลนิธิฟอร์ด

ระเบียงทางทิศตะวันออกมีตู้พระธรรมลายรดน้ำ สมัยรัตนโกสินทร์ ได้มาจากวัดสิงห์ จังหวัดปทุมธานี เหนือตู้พระธรรมบนฝาผนัง มีภาพเขียนสีเกี่ยวกับพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงเหตุการณ์หลังปรินิพาน โดยบางภาพมีรูปดอกบัวซึ่งเป็นสัญลักษณ์อันหมายถึงพระพุทธเจ้า

ตู้ที่อยู่ทางทิศเหนือของระเบียงมีภาชนะดินเผาสังคโลก ศิลปะสุโขทัย (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 19-20) บนหลังตู้มีภาชนะดินเผาสังคโลกที่ติดกัน เนื่องจากการทับถมกันขณะที่ได้รับความร้อนในเตาเผา เมื่อนำภาชนะดินเผาออกจากเตาก็จะติดกัน ถัดมามีหินแกะสลักพร้อมฐาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพระธรรมจักร มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 12-18 ตรงระเบียงด้านตะวันตก มีเศียรพระพุทธรูปสมัยทวาราวดีผสมลพบุรีและหินแกะสลักศลปะขอม ได้มาจากปราสาทหินพิมาย

ในห้องถัดมาจัดแสดงเทวรูปศิลปะขอม โดยเทวรูปที่ตั้งอยู่กลางห้องเป็นเทวรูปของพระศิวะ (ด้านขวา) และพระอุมา (ด้านซ้าย) ซึ่งทั้ง 2 องค์รวมอยู่ในร่างเดียวกัน เรียกว่า "อรรธนารีศวร" จัดเป็นศิลปะขอมแบบบายน (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 17-18) ที่สำคัญตรงมุมด้านซ้ายของห้องเทวรูปของพระนางอุมา (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 12) ซึ่งคุณท่านได้มาจาก อำเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดสระแก้ว) นับเป็นปฏิมากรรมแกะสลักจากหินทราย ศิลปะขอมที่สวยงาม และหาชมได้ยาก ด้านบนฝาผนังมีภาพพระบฎแสดงการเสด็จกลับลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ของพระพุทธเจ้า สมัยต้นรัตนโกสินทร์

เรือนไทยหลังที่ 2

จากเรือนไทยหลังที่ 1 จะมีสะพานเชื่อมติดต่อถึงเรือนไทยหลังที่ 2 -4 ซึ่งจัดรวมเป็นหมู่เรือนไทย บนหน้าบันของระเบียงมีตราประจำพระองค์เป็นรูปช้างสามเศียร ของสมเด็จพระนางเจ้าสุขุ มาลมารศรี พระอัครราชเทวีในรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นสมเด็จพระอัยกี (ย่า) ของเสด็จในกรมฯ

ด้านหน้าของระเบียงทางเดินมีฉาก (ลับแล) ซึ่งด้านหน้ามีภาพเขียนสีแสดงป่าหิมพานต์ และด้านหลังเป็นเรื่องพระเวชสันดรชาดก

ถัดมาทางด้านขวาจะเป็นบริเวณชานเรือนหลังที่ 2 มีตู้พระธรรมลายรดน้ำ สมัยอยุธยาซึ่งได้มาจากวัดบ้านกลิ้ง จังหวัดอยุธยาพร้อมกับหอเขียน มีสัปคับหรือกูบ (ที่นั่งบนหลังช้าง) และงาช้างคู่ ซึ่งได้รับทูลเกล้าจากเจ้าน่าน บนฝาผนังจัดแสดงตาลปัตรราชสกุลบริพัตร และตาลปัตรที่ทำขึ้นเป็นที่รำลึกในพระราชพิธีต่างๆ

เรือนไทยหลังที่ 2 จัดตกแต่งเป็นเรือนรับรอง ภายในห้องด้านเหนือมีเตียง หมอนขวาน บนเตียงมีฉลองพระองค์ครุยของเจ้านายชายและผ้ากรองทองสำหรับเจ้านายหญิง เมื่อมีการแต่งองค์เต็มยศตามแบบโบราณ

มุมห้องด้านใต้ข้างประตู มีคันฉ่องซึ่งมีกรอบไม้แกะสลักลายไทย จีน และฝรั่งเศส ปิดทองด้านหน้าคันฉ่องมีหงส์ 1 คู่ ประดับไฟ 2 ดวงหน้าหงส์

ถัดมาทางทิศใต้ของห้องบนตู้มีพานประดับมุกซ้อนกัน 4 ใบ ภายในตู้ชั้นบนมีตลับงาช้าง สำหรับใส่สีผึ้งและแป้ง มีงาช้างแกะสลักลายไทยปิดทอง ถัดมาทิศตะวันตก มีตู้แกะสลักลายไทยปิดทอง ภายในชั้นบนของตู้มีถ้วยเงินลายทอง ชั้นกลางและชั้นล่างมีเครื่องแก้วเจียระไนจากยุโรปส่วนด้านหลังตู้มีตะลุ่มประดับมุก

ด้านเหนือของห้อง มีตะลุ่มประดับมุกวางอยู่บนตู้สลักลายไทยปิดทอง ในตู้ชั้นบนมีพระรูปของเสด็จในกรมฯ พระบรมรูปแกะสลักจากงาช้างของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และพระรูปของ หม่อมเจ้าหญิงมารศีสุขุมพันธุ์ บริพัตร ชั้นล่างมีปั้นกาน้ำ ตระกร้าหญ้าลิเภา และจานหมูที่สมเด็จพระศรีนคริ นทราบรมราชชนนีพระราชทานไว้ ตู้ชั้นล่างมีปิ่นโตเงินลงยาลายนูนจากประเทศจีน กระโถนเครื่องถมและกระโถนเบญจรงค์ริมประตูด้านตะวันออกมีพระฉายแขวน (กระจกส่องหน้า) และตู้เก็บเครื่องแก้วเจียระไนรวมทั้งขวดน้ำห
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
House after 1

.The ground floor of the house after 1 "Museum music compilation CD of". Known to show the seaplane "compilation CD of" father of the prince, which included three sauce line xylophone, gongs, drums, ancient in Etc.In the room!


.On the terrace to the north. There was a door church wood carving of suggestions in his fifties. The Rattanakosin period (about the late 24) side door has a facade of nationality. Carved gilded with Thai small box.22 upper door and window. Pictures wood carving Chapter IV (Khmer 21-22) from left to right, there is a picture about Buddhism from India to the East. The believers in Buddhism, the pagoda from India.9 him, and Vishnu 4 organizations. Over the carved a record Buddha image on the boundary, north river ran old
.
.Inside the room on the west side is the castle you wooden carved lacquer glass. Within the Buddha image from 3 countries. The first on the left is Buddha when u thong (forty-ish late 18-19).Art of Gandhara (forty-ish late 7-8) and Buddha right derived from Myanmar. In his fifties early Rattanakosin. Next came vase from China during the Ming and Qing Dynasties
.


.On the wall around the room armed ancient period The corner of the room four weapons used in combat on elephant back. Do dependants on the cabinet wood carving on the north side of the room, a head idol Sukhothai. 19-20 (khmer).A wooden cabinet, which is on the top floor display insignia reign reign 5-9 2-4 Coin Silver Commemorative Coins of England and America and The ground floor of the cabinet with decorations, both Thai and foreign
.
over safety top wall frame facade glasshouse collect amulet in Lopburi. Which found at Wat ratburana Ayutthaya (temple was built around the 1976 assumed that older versions of the same พระเครื่องดังกล่าว with this temple)


.The painting that hung over the door to the East is the image of the painting demo Professor King Rama Rama 5 side door with display เครื่องถมทอง ThaiNext is a display of ancient stone axes, stone age, prehistoric, on an axe with handle cabinet โบราณพ found in New Guinea, Indonesia. Which was favored by Ford Foundation
.
.Terrace East, with the safety of gold during the Rattanakosin period. It from wat Pathum Thani province. Over the safety of on the wall. Paintings about biography from birth until after the quantity expression.
.Safety in the north of terrace is celebrated in art of Sukhothai (forty-ish referable that 19-20) on the back of cabinet with pottery celebrated together Because deposition together while getting heat in the furnace.Next came the stone carving with the base. Which is part of the พระธรรมจักร, old Khmer 12-18 balcony on the west side A Buddha head Dvaravati period mix Lopburi and stone carving art: transportation, drawn from Phimai
.
.In the next exhibit statue of Khmer art. Located in the middle of the room by the idol the idol of Lord Shiva (right) and echidna (left), which both 2 holistically in the same body called "Ardhanarishvara" a Khmer art a bye.17-18) important in the corner on the left side of the room, the idol of "UMA" (in his fifties late 12) which you you from aranyaprathet District, prachinburi province. (currently in SA Kaeo). The sculpture carved from sandstone.And find difficult to watch. The top wall picture, the บฎ show back down from the second heaven ruler of Buddha, early Rattanakosin period
.
a house after 2

.From the house after 1 is the bridge connecting to the house after 2 - 4 organized as the house of Thailand. On the gable of the terrace have imperial seal is the elephant a trio of Queen s, มาลมารศรี.5 which is magnesium (I) of the share company
.
the front of the hall there is a scene (and) the front there is a painting colors denote the old forest. And the back is the renal biopsy

.Next to the right side is the terrace behind 2 is safety of gold. The Ayutthaya period which is derived from measuring the home roll. Ayutthaya, along with the tower author got howdah or I (a seat on the elephant) and ivory pair.On the wall display talipot house of vudhijaya. The talipot made be for a memorial in the various
.
a house after 2 furnished house certificate. Within the North rooms bed, on the bed there is a triangular backrest. Apparel cruise of a male boss and filter cloth of gold for the boss lady. When the traditional full dress dress you

.The corner of the room on the south side door with mirror, which has carved wooden frame type, China and France. ปิดทองด้านหน้า mirror is a swan 1 pairs, rationalism 2 Swan face

.The next room on the south of the cabinet with Pan Pearl 4 overlapping leaves. Inside the cabinet on a secret ivory for germanium and flour with ivory carving type gilding. Next มาทิศตะวันตก, a cupboard carved Thai gilding.The middle class and the ground floor has a glassware uncut from Europe and rear cabinet with selfish marquetry
.
.The north side of the room. A selfish Pearl was placed on the safety latch type gilding. In the closet upstairs was a statue of Prince. The statue carved from ivory of King Chulalongkorn Rama 5 and the form ofFuture ground floor mold the basket fair and pork dish that King Sri crystal RA royal house foundation. Safety on the ground floor is a pinto silver embossing from China.(part). Glass cutting and filing cabinets, including water bottles.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: