การทำให้องค์กรมีความเข้มแข็งและสามารถในการแข่งขันในตลาดได้นั้น ถือเป็น การแปล - การทำให้องค์กรมีความเข้มแข็งและสามารถในการแข่งขันในตลาดได้นั้น ถือเป็น อังกฤษ วิธีการพูด

การทำให้องค์กรมีความเข้มแข็งและสามา

การทำให้องค์กรมีความเข้มแข็งและสามารถในการแข่งขันในตลาดได้นั้น ถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะช่วยสร้างความมั่นคงให้กับธุรกิจได้ในระยะยาว แต่ปัจจัยสำคัญกว่านั้นคือ “การให้ลูกค้าหรือตลาดเป็นศูนย์กลางของการขับเคลื่อนการดำเนินงานขององค์กร (Customer/ Market Driven Companies)” ซึ่งก็คือการตระหนักถึงความสำคัญของการมุ่งเน้นที่ลูกค้า (Customer Focus) นั่นเอง

นั่นหมายความว่า องค์กรจะต้องรู้และเข้าใจถึงความต้องการ (Needs) ของลูกค้า ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต พร้อมกับตอบสนองความต้องการเหล่านั้นให้ได้มากที่สุด และเมื่อลูกค้าได้รับสินค้าหรือบริการที่ตรงกับความต้องการหรือเกินไปกว่าความคาดหวัง (Expectation) สิ่งนั้นย่อมทำให้เกิด “ความพึงพอใจ (Satisfaction)”

การสร้างการมุ่งเน้นที่ลูกค้า คือการยึดเอาลูกค้าเป็นศูนย์กลางและแนวทางในการขับเคลื่อนองค์กร เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าเหล่านั้น โดยมุ่งเน้นไปที่การสร้าง “ความพึงพอใจ” ให้เกิดขึ้นแก่ลูกค้า ซึ่งความพึงพอใจที่ว่านี้มีองค์ประกอบอยู่หลายอย่าง เช่น ลูกค้าต้องการสินค้าคุณภาพที่มีคุณภาพดี ราคาย่อมเยาว์ ส่งมอบตรงเวลา เป็นต้น องค์กรจึงต้องเข้าใจถึงความต้องการที่แท้จริงของลูกค้าให้ชัดเจนมากที่สุด จึงจะสามารถสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าได้

ความต้องการของลูกค้า (Customer Needs) จึงจำเป็นต้องได้รับการขยายผลออกมาให้ชัดเจนมากที่สุด เพราะนั่นคือส่วนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ซึ่ง Peter R. Scholtes ได้ให้ทฤษฎีของการบ่งชี้ความต้องการของลูกค้าเอาไว้ 6 ขั้นตอน

Customer Focus

การคาดการณ์ผลลัพธ์ที่ควรจะเป็น (Speculate about the results) ก่อนที่จะออกไปเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการของลูกค้า เราควรคิดและเขียนถึงสิ่งที่คิดว่าลูกค้าจะพูดถึงไว้ก่อน เพื่อจะได้กะเวลาที่จะต้องใช้ในการเรียนรู้ความต้องการของลูกค้าได้ถูก ซึ่งจะทำให้เราสามารถเปรียบเทียบความคาดหวังขององค์กร กับสิ่งที่จะถูกกล่าวถึงจริงๆ ได้ ซึ่งมันจะทำให้องค์กรรู้ว่า ยังสามารถยึดมั่นกับความต้องการของลูกค้าได้หรือไม่
สร้างแผนในการรวบรวมข้อมูล (Plan how to gather the information) การเก็บรวบรวมข้อมูลที่ดี ควรมีการจัดการอย่างเป็นระบบ ก่อนการเก็บข้อมูลจึงควรกำหนดโครงสร้างการดำเนินงาน โดยการตัดสินใจว่าข้อมูลประเภทไหนที่จำเป็น และข้อมูลเหล่านั้นจะต้องไปถามใคร จึงจะได้มา การสอบถามแบบ “Face-to-Face Interview” จะช่วยให้เรารับรู้ข้อมูลอื่นๆ ที่อาจเกี่ยวข้องกับคำถามมากขึ้น การแสดงออกทางสีหน้าท่าทาง รวมถึงคำถามต่อเนื่องที่อาจไม่ได้ระบุเอาไว้ในแบบสอบถาม แต่มีประโยชน์กับการพัฒนาสินค้าและบริการ
เก็บรวบรวมข้อมูล (Gather the information) ก่อนที่เราจะดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ ให้เราทดลองดำเนินการกับลูกค้ากลุ่มเล็กๆ สัก 2-3 ราย เพื่อให้เราเห็นปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในระหว่างดำเนินการจริง ซึ่งเราจะได้แก้ไขก่อนที่จะนำไปใช้กับกลุ่มลูกค้าจำนวนมาก จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลได้ตรงตามระยะเวลาที่เหมาะสม
วิเคราะห์ผล (Analyze the results) การวิเคราะห์ผลให้มีประสิทธิภาพนั้น ควรวิเคราะห์อย่างระมัดระวังและมีเป้าหมาย เช่น
ผลที่ได้นี้สอดคล้องกับผลที่ได้คาดเดาไว้ในขั้นตอนแรกหรือไม่
อะไรคือปัญหาที่ลูกค้าบ่งชี้ออกมา
มีลูกค้าบ่นหรือร้องเรียนในเรื่องเดียวกันกี่ราย
มีข้อเสนอแนะให้ต้องเปลี่ยนแปลงอะไรบ้างในผลิตภัณฑ์หรือบริการ ฯลฯ
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อสรุปที่ได้ (Check the validity of your conclusions) การตรวจสอบความถูกต้องของข้อสรุปที่ได้นี้ เราสามารถให้ลูกค้าช่วยตรวจสอบความถูกต้องได้โดยเลือกลูกค้ามากลุ่มหนึ่งแล้วนำเสนอผลสรุปนี้ แล้วดูว่าพวกเขาเห็นด้วยกับข้อสรุปหรือไม่ รวมถึงนำเสนอข้อสรุปนี้กับบุคคลอื่นในองค์กรด้วย เพื่อดูผลสะท้อนกลับ (Feedback) จากนั้นจึงปรับผลสรุปตามผลสะท้อนที่ได้ ทั้งจากภายในและภายนอก
ดำเนินการตามผลที่ชี้บ่ง (Take action as indicated) จากข้อสรุปครั้งสุดท้าย มีอะไรที่จะต้องดำเนินการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ถ้ามี จะใช้ระยะเวลาในการดำเนินการเท่าไหร่ และจะเริ่มลงมือดำเนินการเลยหรือไม่ อย่างไร ถ้าไม่สามารถดำเนินการได้ทันที ควรเขียนเป็นแผนงานการแก้ไข แล้วนำเสนอต่อลูกค้า เพื่อบอกถึงสิ่งที่องค์กรกำลังจะทำและจะทำเสร็จเมื่อไหร่ เป็นการสร้างความมั่นใจว่าการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นจะเกิดขึ้นจริง ซึ่งจะส่งผลต่อความพึงพอใจของลูกค้าด้วย
ซึ่งในสภาวะแวดล้อมทางธุรกิจในปัจจุบันมีการแข่งขันกันค่อนข้างสูง การมุ่งเน้นที่ลูกค้า จึงต้องไม่ใช่แค่การส่งแบบสอบถามออกไปสำรวจเท่านั้น เพราะการมุ่งเน้นที่ลูกค้า จะนำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในองค์กร ซึ่งสุดท้ายแล้ว สิ่งที่ได้รับกลับมานั่นคือความพึงพอใจของลูกค้าทั้งสิ้น แต่ทรัพยากรขององค์กรมักมีจำกัด เราจึงต้องมีการวางแผนเพื่อใช้ทรัพยากรให้เกิดการปรับปรุงด้านความพึงพอใจของลูกค้า ทั้งยังสามารถรักษาลูกค้าไว้ได้ด้วย และนั่นคือความอยู่รอดในระยะยาวขององค์กรและธุรกิจ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The Organization has the strength and ability to compete in the market is one factor that will help create stability for the business in the long term, but more importantly, the factor of "the customer is the center of the market-driven corporate operations (Customer/Market Driven Companies)", that is, recognizing the importance of a focus on the customer (Customer Focus).This means that the Organization must know and understand the customer's requirements (Needs) both now and in the future with responding to those needs, and when the customer has received the goods or services that meet your needs or expectations, too. (Expectation) that inevitably cause "satisfaction (Satisfaction)"Creating a customer focus is to cling to this customer-centric approach in driving organizations. To respond to the needs of those customers by focusing on the creation of "satisfaction", which occurs for customer satisfaction that this has several elements, such as customers want quality products at affordable prices with good quality. On-time delivery, etc., organizations must understand the real needs of the customer, clearly the most satisfaction to customers.The needs of the customer (Customer Needs) need to be expanded come out most clearly. Because that is part of the product development process in which Peter R. Scholtes., the theory of identifying customer needs remove the 6 steps.Customer Focusการคาดการณ์ผลลัพธ์ที่ควรจะเป็น (Speculate about the results) ก่อนที่จะออกไปเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการของลูกค้า เราควรคิดและเขียนถึงสิ่งที่คิดว่าลูกค้าจะพูดถึงไว้ก่อน เพื่อจะได้กะเวลาที่จะต้องใช้ในการเรียนรู้ความต้องการของลูกค้าได้ถูก ซึ่งจะทำให้เราสามารถเปรียบเทียบความคาดหวังขององค์กร กับสิ่งที่จะถูกกล่าวถึงจริงๆ ได้ ซึ่งมันจะทำให้องค์กรรู้ว่า ยังสามารถยึดมั่นกับความต้องการของลูกค้าได้หรือไม่สร้างแผนในการรวบรวมข้อมูล (Plan how to gather the information) การเก็บรวบรวมข้อมูลที่ดี ควรมีการจัดการอย่างเป็นระบบ ก่อนการเก็บข้อมูลจึงควรกำหนดโครงสร้างการดำเนินงาน โดยการตัดสินใจว่าข้อมูลประเภทไหนที่จำเป็น และข้อมูลเหล่านั้นจะต้องไปถามใคร จึงจะได้มา การสอบถามแบบ “Face-to-Face Interview” จะช่วยให้เรารับรู้ข้อมูลอื่นๆ ที่อาจเกี่ยวข้องกับคำถามมากขึ้น การแสดงออกทางสีหน้าท่าทาง รวมถึงคำถามต่อเนื่องที่อาจไม่ได้ระบุเอาไว้ในแบบสอบถาม แต่มีประโยชน์กับการพัฒนาสินค้าและบริการเก็บรวบรวมข้อมูล (Gather the information) ก่อนที่เราจะดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ ให้เราทดลองดำเนินการกับลูกค้ากลุ่มเล็กๆ สัก 2-3 ราย เพื่อให้เราเห็นปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในระหว่างดำเนินการจริง ซึ่งเราจะได้แก้ไขก่อนที่จะนำไปใช้กับกลุ่มลูกค้าจำนวนมาก จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลได้ตรงตามระยะเวลาที่เหมาะสมวิเคราะห์ผล (Analyze the results) การวิเคราะห์ผลให้มีประสิทธิภาพนั้น ควรวิเคราะห์อย่างระมัดระวังและมีเป้าหมาย เช่นผลที่ได้นี้สอดคล้องกับผลที่ได้คาดเดาไว้ในขั้นตอนแรกหรือไม่อะไรคือปัญหาที่ลูกค้าบ่งชี้ออกมามีลูกค้าบ่นหรือร้องเรียนในเรื่องเดียวกันกี่รายมีข้อเสนอแนะให้ต้องเปลี่ยนแปลงอะไรบ้างในผลิตภัณฑ์หรือบริการ ฯลฯ
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อสรุปที่ได้ (Check the validity of your conclusions) การตรวจสอบความถูกต้องของข้อสรุปที่ได้นี้ เราสามารถให้ลูกค้าช่วยตรวจสอบความถูกต้องได้โดยเลือกลูกค้ามากลุ่มหนึ่งแล้วนำเสนอผลสรุปนี้ แล้วดูว่าพวกเขาเห็นด้วยกับข้อสรุปหรือไม่ รวมถึงนำเสนอข้อสรุปนี้กับบุคคลอื่นในองค์กรด้วย เพื่อดูผลสะท้อนกลับ (Feedback) จากนั้นจึงปรับผลสรุปตามผลสะท้อนที่ได้ ทั้งจากภายในและภายนอก
ดำเนินการตามผลที่ชี้บ่ง (Take action as indicated) จากข้อสรุปครั้งสุดท้าย มีอะไรที่จะต้องดำเนินการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ถ้ามี จะใช้ระยะเวลาในการดำเนินการเท่าไหร่ และจะเริ่มลงมือดำเนินการเลยหรือไม่ อย่างไร ถ้าไม่สามารถดำเนินการได้ทันที ควรเขียนเป็นแผนงานการแก้ไข แล้วนำเสนอต่อลูกค้า เพื่อบอกถึงสิ่งที่องค์กรกำลังจะทำและจะทำเสร็จเมื่อไหร่ เป็นการสร้างความมั่นใจว่าการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นจะเกิดขึ้นจริง ซึ่งจะส่งผลต่อความพึงพอใจของลูกค้าด้วย
ซึ่งในสภาวะแวดล้อมทางธุรกิจในปัจจุบันมีการแข่งขันกันค่อนข้างสูง การมุ่งเน้นที่ลูกค้า จึงต้องไม่ใช่แค่การส่งแบบสอบถามออกไปสำรวจเท่านั้น เพราะการมุ่งเน้นที่ลูกค้า จะนำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในองค์กร ซึ่งสุดท้ายแล้ว สิ่งที่ได้รับกลับมานั่นคือความพึงพอใจของลูกค้าทั้งสิ้น แต่ทรัพยากรขององค์กรมักมีจำกัด เราจึงต้องมีการวางแผนเพื่อใช้ทรัพยากรให้เกิดการปรับปรุงด้านความพึงพอใจของลูกค้า ทั้งยังสามารถรักษาลูกค้าไว้ได้ด้วย และนั่นคือความอยู่รอดในระยะยาวขององค์กรและธุรกิจ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: