พระพุทธปรางค์ปราสาท (ปราสาทพระเทพบิดร) ตั้งอยู่บนฐานไพทีด้านทิศตะวันออ การแปล - พระพุทธปรางค์ปราสาท (ปราสาทพระเทพบิดร) ตั้งอยู่บนฐานไพทีด้านทิศตะวันออ อังกฤษ วิธีการพูด

พระพุทธปรางค์ปราสาท (ปราสาทพระเทพบิ

พระพุทธปรางค์ปราสาท (ปราสาทพระเทพบิดร) ตั้งอยู่บนฐานไพทีด้านทิศตะวันออก ของพระมณฑปตรงกับประตูพระระเบียงและประตูสวัสดิโสภา ซึ่งเป็นประตูชั้นนอกของพระบรมมหาราชวัง
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นใน พ.ศ. ๒๓๙๘ ตามแบบปราสาททอง (พระที่นั่งวิหารสมเด็จ) ในกรุงศรีอยุธยา พระราชทานนามว่าพระพุทธปรางค์ปราสาท ในการก่อสร้างครั้งนี้โปรดเกล้า ฯ ให้นำกระเบื้องที่สั่งมาจากมาเมืองจีนตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ ที่มีพระราชประสงค์จะนำมาประดับพระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม มาประดับที่พระพุทธปรางค์ปราสาทด้วย แต่การก่อสร้างยังไม่แล้วเสร็จ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จสวรรคตเสียก่อน
ในรัชกาลที่ ๕ เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครอบ ๑๐๐ ปี โปรดเกล้า ฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ ควบคุมการบูรณะปฏิสังขรณ์ พระพุทธปรางค์ปราสาทดังนี้
๑. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ ทรงทำบุษบกข้างใน พระพุทธปรางค์ปราสาท
๒. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ เมื่อครั้งดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นนเรศร์วรฤทธิ์ ทำเพดานภายในที่ยังค้างอยู่ ปูหินอ่อน ทำลวดลายผนัง เชิงผนังและลายเพดานขึ้นใหม่
๓. พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นภูรเรศธำรงศักดิ์ ทำการประดับกระเบื้องในที่ต่างๆ ที่ยังค้างอยู่เป็นอันมาก ทำการลงรักปิดทองประดับกระจก เชิงกลอน ทวย ช่อฟ้า ใบระกา หน้าบัน เสา และการต่าง ๆ ภายนอกทั้งหมด
๔. พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ เมื่อครั้งดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค ทำการประดับมุกบานพระทวาร และพระบัญชรด้านนอกทั้งหมด ด้านในเป็นลายรดน้ำรูปเซี่ยวกาง
การก่อสร้างพระพุทธปรางค์ปราสาทสำเร็จลงใน พ.ศ. ๒๔๒๕ พร้อมกับงานฉลองพระนครครบ ๑๐๐ ปี แต่เมื่อสร้างเสร็จแล้วทรงเห็นว่า พระพุทธปรางค์ปราสาทมีขนาดไม่เพียงพอกับพระราชพิธีต่าง ๆ จึงมิได้อัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (แก้วมรกต) มาประดิษฐาน ตามพระราชดำริเดิมของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่โปรดเกล้า ฯ ให้อัญเชิญ พระเจดีย์กาไหล่ทอง ของรัชกาลที่ ๔ ที่เคยตั้งเป็นประธานในพระพุทธมณเฑียรในบริเวณสวนขวา เดิมมาประดิษฐานเป็นประธานในพระพุทธปรางค์ปราสาท
ปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. ๒๔๔๖ เกิดเพลิงไหม้อันเนื่องจากไฟฟ้าลัดวงจร ทำให้เครื่องบนหลังคาพระพุทธปรางค์ปราสาทไหม้จนหมดสิ้น รวมไปถึงพระเจดีย์กาไหล่ทององค์ประธานก็สูญสิ้นไปด้วย ขณะเพลิงไหม้ได้โปรดเกล้า ฯ ให้ถอดพระทวารและพระบัญชรประดับมุกออกทั้งหมด หลังจากนั้นโปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมหลังคาและส่วนที่ชำรุดเสียหาย ส่วนบานพระทวารและพระบัญชรประดับมุกโปรดเกล้า ฯ ให้นำไปเป็นบานประตูและหน้าต่างที่พระอุโบสถวัดราชบพิธ ฯ การบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งนี้ยังไม่เสร็จได้เสด็จสวรรคตเสียก่อน
ในรัชกาลที่ ๖ โปรดเกล้า ฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์จนเสร็จบริบูรณ์ แล้วตกแต่งภายในแก้เป็นที่ประดิษฐานพระบรมรูป สมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าในพระบรมราชจักรีวงศ์ทั้ง ๕ พระองค์ และให้แปลงนามเรียกว่า “ปราสาทพระเทพบิดร” ในการแปลงนามครั้งนี้สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรสไม่ทรงเห็นชอบด้วย อ้างว่าของเดิมเป็นพุทธบูชาไม่ควรจะตัดคำว่า พุทธ ออกไป ในท้ายที่สุดสมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงยอมให้กั้นมุขหลังเป็นห้องหนึ่งต่างหากที่เรียกกันในปัจจุบันว่าท้ายจรนำ แล้วเชิญพระพุทธรูปพระเทพบิดร ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้า ฯ ให้หล่อขึ้นมาตั้งเป็นประธานในห้องนั้นเพื่อให้สัมพันธ์กับนามที่เรียกว่าปราสาทพระเทพบิดร แต่ปัจจุบันท้ายจรนำเป็นคลังเก็บของ วัดพระศรีรัตนศาสดารามจะเชิญพระพุทธรูปพระเทพบิดรไปไว้ ณ ที่ใดต่อไปไม่ปรากฏ
ในรัชกาลที่ ๗ โปรดเกล้า ฯ ให้ปั้นหล่อพระพุทธรูปพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แล้วอัญเชิญไปประดิษฐานไว้ในปราสาทพระเทพบิดรใน พ.ศ. ๒๔๗๐ เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ ๑๕๐ ปี ก็ได้โปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแซมกระเบื้องที่ชำรุด ซ่อมช่อฟ้า ใบระกา หน้าบันและลายฉลุปิดทองที่ฝ้าเพดาน ซ่อมลงรักปิดทองประดับกระจกเสานาคพลสิงห์บันได ซ่อมฐานบัวให้เหมือนเดิม
ในรัชกาลที่ ๘ โปรดเกล้า ฯ ให้หล่อพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นเมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๔๘๙ การยังไม่แล้วเสร็จ ยังไม่ได้บรรจุเส้นพระเจ้า ดวงพระบรมราชสมภพ ดวงพระบรมราชภิเษก และยังไม่ได้เชิญขึ้นประดิษฐานบนปราสาทพระเทพบิดร ก็เสด็จสวรรคตเสียก่อน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรรจุและอัญเชิญพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๗ ขึ้นประดิษฐานในปราสาทพระเทพบิดร เมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๐๒ พร้อมพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้หล่อขึ้น
เมื่อเตรียมงานฉลองพระนครครบรอบ ๒๐๐ ปี ได้มีการบูรณะปราสาทพระเทพบิดรอีกครั้งหนึ่งในส่วนที่ชำรุดเสียหาย เช่น ล้างฝาผนังที่บุกระเบื้องเคลือบสีให้สดใสเหมือนเดิมเป็นต้น ส่วนการบูรณะนั้นยังรักษาศิลปะการก่อสร้างเดิมไว้ไม่ได้เปลี่ยนแปลงประการใด
การถวายบังคมพระบรมรูปสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชที่ปราสาทพระเทพบิดรเป็นราชประเพณีประจำปี ตั้งแต่วันที่ ๖ เมษายน๒๔๖๑ เป็นต้นมา และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้สาธุชนเข้าถวายบังคมสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช ที่ปราสาทพระเทพบิดร ตั้งแต่เวลา ๘ นาฬิกา จนถึงเวลา ๑๘ นาฬิกา

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Phra prang Castle (Castle of Thep bidon) Located on the East side of phaithi bases of its matches in his door and balcony door leading onto outside Sopha peace of Royal Palace. King Mongkut Rama, h.m., was created in the gold Castle 2398 (1855) ("King's seat) in the period. Granted the name Buddha prang Prasat in the construction this time, h.m., remove the tiles from the order came from the reign of the Chinese cities with 3 Royal intention will adorn the temple Wat Arun Buddhist embellish but that the construction of the castle of prang had still not completed. King Mongkut Rama appeared to die first. In King Rama 5 when preparing a job covering 100 years of Phra Nakhon Sompoch, h.m., many of the Royal family; Restoration to restore control. The castle of Buddha prang 1. King's Royal family. Prince Maha mala Department of Phraya bamrap butbok clash made inside. Phra prang Prasat 2. Abbhantripaja Department of naretwon of vitamin c when it was yayot looking Black River is a God his Royal male. Department of Interior ceilings milieu made naretwon thousand are still pending, marble-patterned wall-, ceiling-and wall-new. 3. Hemvadi Department of phutret thousand to uphold the inherent dignity and of. When you occupying time Lord God itriyayot his Royal male. Department of raret thousand working to uphold the inherent dignity and of the Phu decor tiles in various places that are still pending. Make a glass lacquer. A complex poem Thuy gable a rooster glass pillars and all external things. 4. Isariyabhorn Department of thiwakon thousand Wong biography When it was yayot looking Black River is a God his Royal male. Nowadays, Lord Sri supayok Thawan banphra pearl jewelry is made, and all aspects of exterior banchon Act in a siaokang format, watering. The construction of the castle in fulfillment of Buddha 2425 (1882) prang with a 100-year anniversary celebrations Bangkok, but when finished, he saw that the Buddha is not enough-sized Castle prang to the ceremony it is not seeing the Buddha Maitreya Maha Mani Ratana (Emerald) enshrined. The original initiation of King Mongkut, Rama, h.m., summoning. The reign of the golden pagoda kalai 4 ever as President in a century Buddha in garden area right. Originally enshrined in Buddha prang Prasat At the end of the reign King Chulalongkorn 2446 (1903) fire due to short circuit. Make a roof-top Buddha prang Prasat burns up completely, as well as the golden pagoda, kalai Chairman to disappear altogether. While fire, please, remove h.m. King and Pearl Jewelry banchon thawan all out. Since then, the roof repair, h.m. and damaged parts. Thawan banphra banchon Act and section NGAI decoration, h.m., leading to a door and a window at the Temple of baphit has maintained this was not completed before his death.ในรัชกาลที่ ๖ โปรดเกล้า ฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์จนเสร็จบริบูรณ์ แล้วตกแต่งภายในแก้เป็นที่ประดิษฐานพระบรมรูป สมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าในพระบรมราชจักรีวงศ์ทั้ง ๕ พระองค์ และให้แปลงนามเรียกว่า “ปราสาทพระเทพบิดร” ในการแปลงนามครั้งนี้สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรสไม่ทรงเห็นชอบด้วย อ้างว่าของเดิมเป็นพุทธบูชาไม่ควรจะตัดคำว่า พุทธ ออกไป ในท้ายที่สุดสมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงยอมให้กั้นมุขหลังเป็นห้องหนึ่งต่างหากที่เรียกกันในปัจจุบันว่าท้ายจรนำ แล้วเชิญพระพุทธรูปพระเทพบิดร ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้า ฯ ให้หล่อขึ้นมาตั้งเป็นประธานในห้องนั้นเพื่อให้สัมพันธ์กับนามที่เรียกว่าปราสาทพระเทพบิดร แต่ปัจจุบันท้ายจรนำเป็นคลังเก็บของ วัดพระศรีรัตนศาสดารามจะเชิญพระพุทธรูปพระเทพบิดรไปไว้ ณ ที่ใดต่อไปไม่ปรากฏ In the reign of 7, h.m., molding, casting, Buddha King Rama, and then brought to his castle in Thep bidon enshrined in 2470 (1927) when preparing job 150 years anniversary of Phra Nakhon Sompoch., h.m., repair damaged tiles repair gable a rooster. Glass and gilding the stencil lacquer repair ceiling glass pillars phonsing Naga stairs. Lotus base to repair the same. ในรัชกาลที่ ๘ โปรดเกล้า ฯ ให้หล่อพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นเมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๔๘๙ การยังไม่แล้วเสร็จ ยังไม่ได้บรรจุเส้นพระเจ้า ดวงพระบรมราชสมภพ ดวงพระบรมราชภิเษก และยังไม่ได้เชิญขึ้นประดิษฐานบนปราสาทพระเทพบิดร ก็เสด็จสวรรคตเสียก่อน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรรจุและอัญเชิญพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๗ ขึ้นประดิษฐานในปราสาทพระเทพบิดร เมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๐๒ พร้อมพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้หล่อขึ้น เมื่อเตรียมงานฉลองพระนครครบรอบ ๒๐๐ ปี ได้มีการบูรณะปราสาทพระเทพบิดรอีกครั้งหนึ่งในส่วนที่ชำรุดเสียหาย เช่น ล้างฝาผนังที่บุกระเบื้องเคลือบสีให้สดใสเหมือนเดิมเป็นต้น ส่วนการบูรณะนั้นยังรักษาศิลปะการก่อสร้างเดิมไว้ไม่ได้เปลี่ยนแปลงประการใด การถวายบังคมพระบรมรูปสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชที่ปราสาทพระเทพบิดรเป็นราชประเพณีประจำปี ตั้งแต่วันที่ ๖ เมษายน๒๔๖๑ เป็นต้นมา และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้สาธุชนเข้าถวายบังคมสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช ที่ปราสาทพระเทพบิดร ตั้งแต่เวลา ๘ นาฬิกา จนถึงเวลา ๑๘ นาฬิกา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
พระพุทธปรางค์ปราสาท (ปราสาทพระเทพบิดร) ตั้งอยู่บนฐานไพทีด้านทิศตะวันออก ของพระมณฑปตรงกับประตูพระระเบียงและประตูสวัสดิโสภา ซึ่งเป็นประตูชั้นนอกของพระบรมมหาราชวัง
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นใน พ.ศ. ๒๓๙๘ ตามแบบปราสาททอง (พระที่นั่งวิหารสมเด็จ) ในกรุงศรีอยุธยา พระราชทานนามว่าพระพุทธปรางค์ปราสาท ในการก่อสร้างครั้งนี้โปรดเกล้า ฯ ให้นำกระเบื้องที่สั่งมาจากมาเมืองจีนตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ ที่มีพระราชประสงค์จะนำมาประดับพระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม มาประดับที่พระพุทธปรางค์ปราสาทด้วย แต่การก่อสร้างยังไม่แล้วเสร็จ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จสวรรคตเสียก่อน
ในรัชกาลที่ ๕ เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครอบ ๑๐๐ ปี โปรดเกล้า ฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ ควบคุมการบูรณะปฏิสังขรณ์ พระพุทธปรางค์ปราสาทดังนี้
๑. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ ทรงทำบุษบกข้างใน พระพุทธปรางค์ปราสาท
๒. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ เมื่อครั้งดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นนเรศร์วรฤทธิ์ ทำเพดานภายในที่ยังค้างอยู่ ปูหินอ่อน ทำลวดลายผนัง เชิงผนังและลายเพดานขึ้นใหม่
๓. พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นภูรเรศธำรงศักดิ์ ทำการประดับกระเบื้องในที่ต่างๆ ที่ยังค้างอยู่เป็นอันมาก ทำการลงรักปิดทองประดับกระจก เชิงกลอน ทวย ช่อฟ้า ใบระกา หน้าบัน เสา และการต่าง ๆ ภายนอกทั้งหมด
๔. พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ เมื่อครั้งดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค ทำการประดับมุกบานพระทวาร และพระบัญชรด้านนอกทั้งหมด ด้านในเป็นลายรดน้ำรูปเซี่ยวกาง
การก่อสร้างพระพุทธปรางค์ปราสาทสำเร็จลงใน พ.ศ. ๒๔๒๕ พร้อมกับงานฉลองพระนครครบ ๑๐๐ ปี แต่เมื่อสร้างเสร็จแล้วทรงเห็นว่า พระพุทธปรางค์ปราสาทมีขนาดไม่เพียงพอกับพระราชพิธีต่าง ๆ จึงมิได้อัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (แก้วมรกต) มาประดิษฐาน ตามพระราชดำริเดิมของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่โปรดเกล้า ฯ ให้อัญเชิญ พระเจดีย์กาไหล่ทอง ของรัชกาลที่ ๔ ที่เคยตั้งเป็นประธานในพระพุทธมณเฑียรในบริเวณสวนขวา เดิมมาประดิษฐานเป็นประธานในพระพุทธปรางค์ปราสาท
ปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. ๒๔๔๖ เกิดเพลิงไหม้อันเนื่องจากไฟฟ้าลัดวงจร ทำให้เครื่องบนหลังคาพระพุทธปรางค์ปราสาทไหม้จนหมดสิ้น รวมไปถึงพระเจดีย์กาไหล่ทององค์ประธานก็สูญสิ้นไปด้วย ขณะเพลิงไหม้ได้โปรดเกล้า ฯ ให้ถอดพระทวารและพระบัญชรประดับมุกออกทั้งหมด หลังจากนั้นโปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมหลังคาและส่วนที่ชำรุดเสียหาย ส่วนบานพระทวารและพระบัญชรประดับมุกโปรดเกล้า ฯ ให้นำไปเป็นบานประตูและหน้าต่างที่พระอุโบสถวัดราชบพิธ ฯ การบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งนี้ยังไม่เสร็จได้เสด็จสวรรคตเสียก่อน
ในรัชกาลที่ ๖ โปรดเกล้า ฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์จนเสร็จบริบูรณ์ แล้วตกแต่งภายในแก้เป็นที่ประดิษฐานพระบรมรูป สมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าในพระบรมราชจักรีวงศ์ทั้ง ๕ พระองค์ และให้แปลงนามเรียกว่า “ปราสาทพระเทพบิดร” ในการแปลงนามครั้งนี้สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรสไม่ทรงเห็นชอบด้วย อ้างว่าของเดิมเป็นพุทธบูชาไม่ควรจะตัดคำว่า พุทธ ออกไป ในท้ายที่สุดสมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงยอมให้กั้นมุขหลังเป็นห้องหนึ่งต่างหากที่เรียกกันในปัจจุบันว่าท้ายจรนำ แล้วเชิญพระพุทธรูปพระเทพบิดร ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้า ฯ ให้หล่อขึ้นมาตั้งเป็นประธานในห้องนั้นเพื่อให้สัมพันธ์กับนามที่เรียกว่าปราสาทพระเทพบิดร แต่ปัจจุบันท้ายจรนำเป็นคลังเก็บของ วัดพระศรีรัตนศาสดารามจะเชิญพระพุทธรูปพระเทพบิดรไปไว้ ณ ที่ใดต่อไปไม่ปรากฏ
ในรัชกาลที่ ๗ โปรดเกล้า ฯ ให้ปั้นหล่อพระพุทธรูปพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แล้วอัญเชิญไปประดิษฐานไว้ในปราสาทพระเทพบิดรใน พ.ศ. ๒๔๗๐ เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ ๑๕๐ ปี ก็ได้โปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแซมกระเบื้องที่ชำรุด ซ่อมช่อฟ้า ใบระกา หน้าบันและลายฉลุปิดทองที่ฝ้าเพดาน ซ่อมลงรักปิดทองประดับกระจกเสานาคพลสิงห์บันได ซ่อมฐานบัวให้เหมือนเดิม
ในรัชกาลที่ ๘ โปรดเกล้า ฯ ให้หล่อพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นเมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๔๘๙ การยังไม่แล้วเสร็จ ยังไม่ได้บรรจุเส้นพระเจ้า ดวงพระบรมราชสมภพ ดวงพระบรมราชภิเษก และยังไม่ได้เชิญขึ้นประดิษฐานบนปราสาทพระเทพบิดร ก็เสด็จสวรรคตเสียก่อน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรรจุและอัญเชิญพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๗ ขึ้นประดิษฐานในปราสาทพระเทพบิดร เมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๐๒ พร้อมพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้หล่อขึ้น
เมื่อเตรียมงานฉลองพระนครครบรอบ ๒๐๐ ปี ได้มีการบูรณะปราสาทพระเทพบิดรอีกครั้งหนึ่งในส่วนที่ชำรุดเสียหาย เช่น ล้างฝาผนังที่บุกระเบื้องเคลือบสีให้สดใสเหมือนเดิมเป็นต้น ส่วนการบูรณะนั้นยังรักษาศิลปะการก่อสร้างเดิมไว้ไม่ได้เปลี่ยนแปลงประการใด
การถวายบังคมพระบรมรูปสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชที่ปราสาทพระเทพบิดรเป็นราชประเพณีประจำปี ตั้งแต่วันที่ ๖ เมษายน๒๔๖๑ เป็นต้นมา และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้สาธุชนเข้าถวายบังคมสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช ที่ปราสาทพระเทพบิดร ตั้งแต่เวลา ๘ นาฬิกา จนถึงเวลา ๑๘ นาฬิกา

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The ปรางค์ปรา Castle () is located on the base ปราสาทพระเทพบิดร asthmatic bronchitis in the East. Of the balcony door with a door nomograph and welfare radiance. The outer door of the palace!
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: