บทความเรื่อง “ห้องสมุดออนไลด์(ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์) E-Library”  แหล่ การแปล - บทความเรื่อง “ห้องสมุดออนไลด์(ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์) E-Library”  แหล่ อาหรับ วิธีการพูด

บทความเรื่อง “ห้องสมุดออนไลด์(ห้องส

บทความเรื่อง “ห้องสมุดออนไลด์(ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์) E-Library”

แหล่งการเรียนรู้ที่สำคัญของคนเรา นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน คือ ห้องสมุด เนื่องห้องสมุดเป็นแหล่ง รวบรวมสารสนเทศทุกรูปแบบ ทั้งที่เป็นวัสดุตีพิมพ์ และวัสดุไม่ตีพิมพ์ เพื่อให้ผู้ใช้ได้ค้นคว้าตอบสนองตามความต้องการ ด้วยสภาพปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามามีบทบาทต่อการดำเนินชีวิต ในทุกๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นทางด้าน การศึกษา เศรษฐกิจ สังคม ซึ่งจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ความรู้ต่างๆ ถูกนำเข้าสู่ระบบดิจิตอลมากขึ้นด้วยห้องสมุดซึ่งเป็นหน่วยงานที่จะต้องให้บริการทางด้านสารสนเทศอยู่แล้ว จึงจำเป็นอย่างที่สุดที่จะต้องมีการพัฒนาปรับเปลี่ยนเพื่อให้มีศักยภาพแห่งการเรียนรู้มากยิ่งขึ้นสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบันโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการจัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบดิจิตอลเพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการนำข้อมูลนั้นมาใช้ ก่อให้เกิดการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย เพิ่มความสามารถในการเรียนรู้ข้อมูลข่าวสาร ได้ครบถ้วน รวดเร็ว จากเหตุผลดังกล่าว ห้องสมุดส่วนใหญ่ในปัจจุบัน จึงได้มีการปรับเปลี่ยนตัวเองไปสู่ระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มากขึ้น
ความหมายของ E-Library
น้ำทิพย์ วิภาวิน (2545;3) ได้ให้ความหมายของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ไว้ว่า E-Library มาจากคำว่า Electronic Library หรือห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในลักษณะผสมผสานการทำงานของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ห้องสมุดดิจิตอลและห้องสมุดเสมือน

ลักษณะของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
น้ำทิพย์ วิภาวิน (2545:9) ได้กล่าวถึงลักษณะของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ว่า ลักษณะการทำงานของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการใช้เทคโนโลยีในห้องสมุด ประกอบด้วย
1. การคัดเลือกเพื่อพัฒนาทรัพยากร (Selection to create a collection)
2. การจัดการหรือจัดหมวดหมู่เพื่อพัฒนาทรัพยากร(Organization to enable access)
3. การอนุรักษ์ทรัพยากรเพื่อความต่อเนื่องในการใช้งานในอนาคต (Preservation for ongoing use )
4. การบริการข้อมูลตามความต้องการของผู้ใช้ (Information services for users,need)

ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์มีการทำงานของระบบต่างๆ ดังนี้
1. ห้องสมุดดิจิตอล
องค์ประกอบของการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (Hardware) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software) บุคลากร (Staff) และทรัพยากรที่จัดเก็บในรูปดิจิตอล (Collection) ซึ่งทำให้การจัดทำระบบสารสนเทศห้องสมุด มีลักษณะดังต่อไปนี้
มีทรัพยากรที่เป็นข้อมูลอยู่ในรูปดิจิตอลเรียกว่า digital objects ได้แก่ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร รูปภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหว (Language –based , Image –based , Sound-based , Motion-based) จัดเก็บไว้ในแหล่งจัดเก็บข้อมูล (Repository) ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักที่ใช้จัดเก็บข้อมูล (Server)
มีการบริหารจัดการในลักษณะขององค์กร เช่นเดียวกับการจัดการห้องสมุดโดยมีการคัดเลือก การจัดการ การจัดเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูล การเผยแพร่ข้อมูล และมีเครื่องมือช่วยค้นที่ให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้
มีการใช้เทคโนโลยีในการสร้างข้อมูล การจัดเก็บ การเผยแพร่ผ่านระบบเครือข่าย
มีการบริการข้อมูลในลักษณะการใช้ข้อมูลร่วมกัน (fair use)
มีการแนะนำการใช้ข้อมูลแก่ผู้ใช้และการอ้างถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
มีวัฏจักรของการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล ได้แก่ การสร้างข้อมูลดิจิตอล (Creation) การเผยแพร่ข้อมูล (Dissemination) การใช้ข้อมูล (Use) และการอนุรักษ์ข้อมูล (Preservation)

2. ห้องสมุดเสมือน
คำว่า virtual ใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูลในหัวข้อหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากที่ต่างๆมาไว้ที่หน้าจอเดียวกัน ได้มีผู้ให้คำจำกัดความของห้องสมุดเสมือน ในหลายความหมายได้แก่
-ห้องสมุดเสมือนเป็นกลุ่มของข้อมูลที่เชื่อมโยงกันในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยจัดเก็บข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย(Server) เพื่อให้บริการการเชื่อมโยงข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต
-ห้องสมุดเสมือนไม่ได้เป็นโครงสร้างหรืออาคารห้องสมุดแห่งใดแห่งหนึ่งที่มี การบริการจัดการโดยเอกเทศ แต่เป็นโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงทรัพยากร บุคคล เป้าหมาย และความสนใจของกลุ่มบุคคลเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้สะดวกและรวดเร็ว
-ห้องสมุดเสมือนไม่ได้มีข้อมูลในห้องสมุดแห่งใดแห่งหนึ่งเท่านั้น แต่เป็นการรวมข้อมูลจากหลายแห่งโดยที่ผู้ใช้ที่อยู่ไกลสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว
-ห้องสมุดเสมือนจึงเป็นห้องสมุดในจิตนาการที่มีความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลรายการบรรณานุกรมและเอกสารจำนวนมากไว้ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาเชื่อมโยงกันผ่านระบบเครือข่าย
ลักษณะเด่น ของห้องสมุดเสมือน คือ ความรวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูล (Accessibility) ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่
ข้อจำกัด ของห้องสมุดเสมือน คือ ต้องใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูลจำนวนมากและต้องมีโปรแกรมการสืบค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพสูง และมีเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีความสามารถในการบันทึกข้อมูลทุกรูปแบบ โดยมีลักษณะของข้อมูลที่เคลื่อนย้ายได้ง่าย


3. ห้องสมุดอัตโนมัติ
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เป็นการจัดระบบสารสนเทศในห้องสมุด ซึ่งประกอบด้วยส่วนของการทำงานใน 6โมดูลหลักๆ ได้แก่
· ระบบงานจัดหา (Acquisition)
· ระบบงานวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการ (Cataloging)
· ระบบงานวรสารและเอกสาร (Serial Control)
· ระบบงานบริการยืม-คืน (Circulation)
· ระบบงานสืบค้นรายการทรัพยากร (Online Public Access Catalogy) และ
· การควบคุมระบบ (Library system administrator)


จากที่กล่าวมาทั้งหมด สรุปได้ว่าแนวโน้มของห้องสมุดในอนาคตจะเป็นศูนย์รวมความรู้หรือจุดเชื่อมโยงความรู้ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ( Server ) มีการบริการข้อมูลในลักษณะ One-stop-shop of information เป็นการกระจายข้อมูลที่อยู่ตามแหล่งต่างๆ เชื่อมโยงมาที่หน้าจอเดียวที่ผู้ใช้ได้รับความสะดวกในการค้นหา โดยห้องสมุดยุคใหม่เน้นการจัดการข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานห้องสมุด และมีการเข้าถึงเนื้อหาข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

แหล่งอ้างอิง

“แนวโน้มของ E – Learning” [online]. เข้าถึงได้จาก: http//www.nstal.net/watya. (2551, พฤศจิกายน 21)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อาหรับ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
عنوان المقال "مكتبة نالي (المكتبة الإلكترونية) المكتبة الإلكترونية" مصادر تعلم هامة للشعب منذ الماضي وحتى الآن مكتبة كما المكتبة عبارة عن مجموعة من المعلومات التي هي المواد المنشورة، ولم يتم نشر المواد، حيث أن المستخدم قد يلتقي البحث الطلب مع تكنولوجيا المعلومات الحالية جاءت للحياة. في كل جانب من جوانب، ما إذا كان ينبغي الاقتصادية، والتعليمية، والاجتماعية، وتطوير تكنولوجيا المعلومات يجعل من الممكن للمعرفة تكون موضع مزيد الرقمية مع مكتبة، وهي السلطة توفير المعلومات، وبعد ذلك قد ترغب في نهاية المطاف.المواقع نمواً معدلة لإمكانات التعلم حتى أكثر اتساقا مع التغييرات في العصر الحالي، لا سيما في التعامل مع المعلومات في شكل رقمي، تيسير سريعة وجلب هذه المعلومات مرة أخرى باستخدام السبب لتوفير الوقت والنفقات. إضافة القدرة على التعلم بسرعة المعلومات تماما. من هذه الأسباب، معظم المكتبات حاليا بتعديل نفسها لأكثر من نظام المكتبة الإلكترونية. معنى المكتبة الإلكترونية فيلا نامتيب الفوز بأربع (2545 (2002)؛ 3) معنى المكتبة الإلكترونية المكتبة الإلكترونية يأتي من كلمة "المكتبة الإلكترونية" أو المكتبة الإلكترونية تشير إلى المعرفة التي يتم حفظها على الكمبيوتر الذي يستضيف الخدمة، ونظم المعلومات الإلكترونية، أو من خلال شبكة الإنترنت. الجمع بين نظم المكتبات الآلية. المكتبة الرقمية والمكتبة الافتراضية خصائص المكتبة الإلكترونية فيلا نامتيب الفوز بأربع (2545 (2002): 9) ناقشنا ذلك ميزات التكنولوجيا الإلكترونية للمكتبة في المكتبة تحتوي على خصائص مكتبة إلكترونية.1. للتأهل لتنمية الموارد (التحديد إلى إنشاء مجموعة)2-إدارة أو فئات تطوير الموارد (منظمة لتمكين الوصول)3-المحافظة على موارد مواصلة العمل في المستقبل (حفظها للاستخدام الجاري)4-بيانات الخدمات استناداً إلى احتياجات المستخدم (خدمات المعلومات للمستخدمين، الحاجة) مكتبة إلكترونية تحتوي على مختلف النظام يعمل على النحو التالي:1 المكتبة الرقمية عناصر تطوير المكتبات الرقمية، بما في ذلك برامج الحاسوب المعدات (أجهزة) الكمبيوتر (البرمجيات) للأفراد (الموظفين)، والموارد التي يتم تخزينها في شكل رقمي (جمع)، الذي يسمح لجعل نظام معلومات مكتبة. يحتوي على الخصائص التالية:موارد المعلومات في شكل رقمي تعرف ككائنات رقمية: رسالة والصور والأصوات والرسوم المتحركة (اللغة – أساس، المستندة إلى الصور، المستندة إلى الصوت، والقائم على الحركة) المخزنة في مخزن البيانات (مستودع)، الذي هو جهاز الكمبيوتر الرئيسي الذي يقوم بتخزين معلومات (الخادم)وتدار بطريقة الشركات، وكذلك إدارة مكتبة مع مجموعة مختارة من إدارة التخزين في قواعد البيانات، ونشر المعلومات وأدوات البحث، فضلا عن المستخدمين الآخرين.استخدام التكنولوجيا لإنشاء تخزين البيانات، النشر من خلال الربط الشبكي.وهناك معلومات عن كيفية مشاركة البيانات (الاستخدام العادل)A دليل لاستخدام معلومات المستخدم، والرجوع إلى المعلومات ذات الصلة.هو الدورة لتطوير المكتبة الرقمية: إنشاء الرقمي (إنشاء) نشر المعلومات (نشر) استخدام بيانات المعلومات (استخدام) والحفظ (حفظ) 2. الظاهري مكتبة يتم استخدام عبارة افتراضية ربط البيانات الموجودة في رأس الصفحة أو كلمة مرور مختلفة من نفس الشاشة. وقد تعريف مكتبة إلكترونية مع معان متعددة:--المكتبة الظاهري هو عبارة عن مجموعة من المعلومات التي ترتبط بشبكة الإنترنت عن طريق تخزين البيانات في جهاز كمبيوتر مضيف (Server) لتوفير ارتباطات بالمعلومات عبر الإنترنت.--المكتبة الظاهري ليس بنية أو بناء مكتبة واحدة التي تحتوي على. الخدمة التي تديرها فريدة من نوعها، ولكن كالبنية التحتية ربط الموارد البشرية المستهدفة واهتمام مجموعة من الناس معا السماح للمستخدمين بالوصول إلى المعلومات بسرعة وسهولة.--المكتبة الظاهري لا يحتوي على معلومات عن كتاب واحد فقط. لكن العديد من تكامل البيانات المستخدم حتى الآن يمكن الوصول إلى البيانات. والهدف للسماح للمستخدمين بالوصول إلى المعلومات بسرعة.--الظاهري مكتبة مكتبة في خيالي مع القدرة على تخزين كميات كبيرة من البيانات والوثائق والمراجع إدخالات في وسائط الإعلام الإلكترونية تكون مرتبطة مع بعضها البعض عن طريق الشبكة.ميزات المكتبة الظاهرية الوصول إلى بيانات بسرعة (الوصول)، يمكن للمستخدمين الوصول إلى البيانات دون حدود للزمان والمكان.القيود المفروضة على المكتبة الافتراضية هي لاستخدام كميات كبيرة من مساحة التخزين وبرنامج تتبع المعلومات التي هي ذات كفاءة عالية ولديه جهاز كمبيوتر لديه القدرة على حفظ أي تنسيق البيانات، مع خصائص البيانات التي تنتقل بسهولة. 3. التلقائي مكتبة نظام المكتبة، نظام معلومات المكتبة، الذي يشمل جزء من العمل في 6 وحدات، هي: لالاك الآلي.نظام الحكم الانتقالي (اقتناء)تحليل نظم فئة الانتقالية والوظيفة (كاتالوجينج)وثائق العمل الانتقالية والإنجيل (التحكم التسلسلي)نظام خدمة إقراض انتقالية (الدورة الدموية)قائمة الموارد تتبع النظام الانتقالي (كاتالوجي الوصول إلى الجمهور عبر الإنترنت) و.أنظمة التحكم الانتقالية (مكتبة مسؤول النظام) من كل هذه اختتام أن الاتجاه للمكتبة في المستقبل، سوف يكون المركز للمعرفة، أو المعرفة نقطة وصلات على الكمبيوتر المضيف (Server) معلومات في النمط من المعلومات وقفه واحدة في متجر عنوان البث كالمصدر. ارتباط إلى شاشة واحدة أن المستخدمين الحصول على سهولة البحث بالمكتبة وإدارة المعلومات الإلكترونية يركز على الجيل الجديد، أكثر. تكنولوجيا المعلومات هو استخدامها كأداة في المكتبة، ويستطيعون الوصول إلى محتوى المعلومات عبر شبكة الإنترنت. المصادر المرجعية. "الاتجاه نحو التعلم الإلكتروني" [على الإنترنت]-الوصول إليها من http://www.nstal.net/watya-(2551 (2008)، 21 تشرين الثاني/نوفمبر)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อาหรับ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
บทความเรื่อง “ห้องสมุดออนไลด์(ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์) E-Library”

แหล่งการเรียนรู้ที่สำคัญของคนเรา นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน คือ ห้องสมุด เนื่องห้องสมุดเป็นแหล่ง รวบรวมสารสนเทศทุกรูปแบบ ทั้งที่เป็นวัสดุตีพิมพ์ และวัสดุไม่ตีพิมพ์ เพื่อให้ผู้ใช้ได้ค้นคว้าตอบสนองตามความต้องการ ด้วยสภาพปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามามีบทบาทต่อการดำเนินชีวิต ในทุกๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นทางด้าน การศึกษา เศรษฐกิจ สังคม ซึ่งจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ความรู้ต่างๆ ถูกนำเข้าสู่ระบบดิจิตอลมากขึ้นด้วยห้องสมุดซึ่งเป็นหน่วยงานที่จะต้องให้บริการทางด้านสารสนเทศอยู่แล้ว จึงจำเป็นอย่างที่สุดที่จะต้องมีการพัฒนาปรับเปลี่ยนเพื่อให้มีศักยภาพแห่งการเรียนรู้มากยิ่งขึ้นสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบันโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการจัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบดิจิตอลเพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการนำข้อมูลนั้นมาใช้ ก่อให้เกิดการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย เพิ่มความสามารถในการเรียนรู้ข้อมูลข่าวสาร ได้ครบถ้วน รวดเร็ว จากเหตุผลดังกล่าว ห้องสมุดส่วนใหญ่ในปัจจุบัน จึงได้มีการปรับเปลี่ยนตัวเองไปสู่ระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มากขึ้น
ความหมายของ E-Library
น้ำทิพย์ วิภาวิน (2545;3) ได้ให้ความหมายของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ไว้ว่า E-Library มาจากคำว่า Electronic Library หรือห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในลักษณะผสมผสานการทำงานของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ห้องสมุดดิจิตอลและห้องสมุดเสมือน

ลักษณะของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
น้ำทิพย์ วิภาวิน (2545:9) ได้กล่าวถึงลักษณะของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ว่า ลักษณะการทำงานของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการใช้เทคโนโลยีในห้องสมุด ประกอบด้วย
1. การคัดเลือกเพื่อพัฒนาทรัพยากร (Selection to create a collection)
2. การจัดการหรือจัดหมวดหมู่เพื่อพัฒนาทรัพยากร(Organization to enable access)
3. การอนุรักษ์ทรัพยากรเพื่อความต่อเนื่องในการใช้งานในอนาคต (Preservation for ongoing use )
4. การบริการข้อมูลตามความต้องการของผู้ใช้ (Information services for users,need)

ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์มีการทำงานของระบบต่างๆ ดังนี้
1. ห้องสมุดดิจิตอล
องค์ประกอบของการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (Hardware) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software) บุคลากร (Staff) และทรัพยากรที่จัดเก็บในรูปดิจิตอล (Collection) ซึ่งทำให้การจัดทำระบบสารสนเทศห้องสมุด มีลักษณะดังต่อไปนี้
มีทรัพยากรที่เป็นข้อมูลอยู่ในรูปดิจิตอลเรียกว่า digital objects ได้แก่ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร รูปภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหว (Language –based , Image –based , Sound-based , Motion-based) จัดเก็บไว้ในแหล่งจัดเก็บข้อมูล (Repository) ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักที่ใช้จัดเก็บข้อมูล (Server)
มีการบริหารจัดการในลักษณะขององค์กร เช่นเดียวกับการจัดการห้องสมุดโดยมีการคัดเลือก การจัดการ การจัดเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูล การเผยแพร่ข้อมูล และมีเครื่องมือช่วยค้นที่ให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้
มีการใช้เทคโนโลยีในการสร้างข้อมูล การจัดเก็บ การเผยแพร่ผ่านระบบเครือข่าย
มีการบริการข้อมูลในลักษณะการใช้ข้อมูลร่วมกัน (fair use)
มีการแนะนำการใช้ข้อมูลแก่ผู้ใช้และการอ้างถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
มีวัฏจักรของการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล ได้แก่ การสร้างข้อมูลดิจิตอล (Creation) การเผยแพร่ข้อมูล (Dissemination) การใช้ข้อมูล (Use) และการอนุรักษ์ข้อมูล (Preservation)

2. ห้องสมุดเสมือน
คำว่า virtual ใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูลในหัวข้อหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากที่ต่างๆมาไว้ที่หน้าจอเดียวกัน ได้มีผู้ให้คำจำกัดความของห้องสมุดเสมือน ในหลายความหมายได้แก่
-ห้องสมุดเสมือนเป็นกลุ่มของข้อมูลที่เชื่อมโยงกันในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยจัดเก็บข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย(Server) เพื่อให้บริการการเชื่อมโยงข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต
-ห้องสมุดเสมือนไม่ได้เป็นโครงสร้างหรืออาคารห้องสมุดแห่งใดแห่งหนึ่งที่มี การบริการจัดการโดยเอกเทศ แต่เป็นโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงทรัพยากร บุคคล เป้าหมาย และความสนใจของกลุ่มบุคคลเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้สะดวกและรวดเร็ว
-ห้องสมุดเสมือนไม่ได้มีข้อมูลในห้องสมุดแห่งใดแห่งหนึ่งเท่านั้น แต่เป็นการรวมข้อมูลจากหลายแห่งโดยที่ผู้ใช้ที่อยู่ไกลสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว
-ห้องสมุดเสมือนจึงเป็นห้องสมุดในจิตนาการที่มีความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลรายการบรรณานุกรมและเอกสารจำนวนมากไว้ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาเชื่อมโยงกันผ่านระบบเครือข่าย
ลักษณะเด่น ของห้องสมุดเสมือน คือ ความรวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูล (Accessibility) ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่
ข้อจำกัด ของห้องสมุดเสมือน คือ ต้องใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูลจำนวนมากและต้องมีโปรแกรมการสืบค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพสูง และมีเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีความสามารถในการบันทึกข้อมูลทุกรูปแบบ โดยมีลักษณะของข้อมูลที่เคลื่อนย้ายได้ง่าย


3. ห้องสมุดอัตโนมัติ
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เป็นการจัดระบบสารสนเทศในห้องสมุด ซึ่งประกอบด้วยส่วนของการทำงานใน 6โมดูลหลักๆ ได้แก่
· ระบบงานจัดหา (Acquisition)
· ระบบงานวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการ (Cataloging)
· ระบบงานวรสารและเอกสาร (Serial Control)
· ระบบงานบริการยืม-คืน (Circulation)
· ระบบงานสืบค้นรายการทรัพยากร (Online Public Access Catalogy) และ
· การควบคุมระบบ (Library system administrator)


จากที่กล่าวมาทั้งหมด สรุปได้ว่าแนวโน้มของห้องสมุดในอนาคตจะเป็นศูนย์รวมความรู้หรือจุดเชื่อมโยงความรู้ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ( Server ) มีการบริการข้อมูลในลักษณะ One-stop-shop of information เป็นการกระจายข้อมูลที่อยู่ตามแหล่งต่างๆ เชื่อมโยงมาที่หน้าจอเดียวที่ผู้ใช้ได้รับความสะดวกในการค้นหา โดยห้องสมุดยุคใหม่เน้นการจัดการข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานห้องสมุด และมีการเข้าถึงเนื้อหาข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

แหล่งอ้างอิง

“แนวโน้มของ E – Learning” [online]. เข้าถึงได้จาก: http//www.nstal.net/watya. (2551, พฤศจิกายน 21)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อาหรับ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
數據服務符合用戶(用戶,需要的信息服務)

電子圖書館的需要是系統的工作是如下:1個

數字式圖書館。المادة عن "นไลด์ المكتبات الالكترونية مكتبة)، ه - مكتبة "

المصدر نتعلم أهمية فرز من الماضي حتى الوقت الحاضر، مكتبة هي مكتبة بجمع المعلومات و جميع أشكال مواد منشورة، المواد المنشورة لامع الظروف الحالية على زيادة دور تكنولوجيا المعلومات في جميع جوانب الحياة سواء الاقتصادية والاجتماعية والتعليمية، من تطوير تكنولوجيا المعلومات والمعرفة.سريعة في المعلومات واستخدامها.ومن الضروري أن التنمية لن تكون هناك حاجة إلى التكيف مع إمكانية التعلم أكثر تمشيا مع التغييرات في عصر اليوم، لا سيما في مجال إدارة البيانات في شكل من المدلك إلى رقميةأكثر
تؤدي إلى توفير الوقت و التكاليف و زيادة القدرة على التعلم بسرعة من معلومات كاملة. معظم المكتبات.معنى ه - مكتبة
العصائر جدلية التخريب (2545 ;3) معنى مكتبة إلكترونية أن ه - مكتبة جاء من كلمة "مكتبة إلكترونية مكتبة أو الوسائل الالكترونيةأو عبر الإنترنت بطريقة تجمع بين وظائف نظام التشغيل الالي للمكاتب، المكتبة الرقمية المكتبة الالكترونية مكتبة
الموارد للتنمية من اختيار (اختيار إنشاء مجموعة )
2. أو فئات إدارة تنمية الموارد )المنظمة في حال الوصول),
3. حفظ الموارد على استمرارية استخدام في المستقبل (الحفاظ على الاستعمال المستمر(
4.خصائص من مكتبة إلكترونية

العصائر جدلية إلى تدميرها (2545: 9) قد تم إضافة إلى خصائص المكتبة أن سلوك الالكترونية المكتبة الالكترونية على استخدام التكنولوجيا في مكتبة تحتوي على
1.خدمات البيانات وفقا لاحتياجات المستخدم (خدمات المعلومات على المستخدمين ضرورة )

مكتبة إلكترونية يتم عمل النظم كما يلي: 1

مكتبة رقمية.عناصر من تطوير مكتبة، كمبيوتر، والأجهزة الرقمية (الأجهزة) برنامج كمبيوتر (البرامج) (العمل) و الموارد المخزنة في شكل رقمي (مجموعة)، مما يجعل إنشاء مكتبة نظم المعلوماتالاقتراح) يتم تخزين البيانات في مستودع التخزين على تخزين الكمبيوتر (server)
فهناك الموارد المطلوبة المعلومات الرقمية في شكل من المعلومات الرقمية الأشياء أو الصور أو الصوت أو النص والرسوم المتحركة (اللغة - على أساس الصورة - على أساس سليم -,هناك إدارة المنظمة وكذلك إدارة المكتبة اختيار وحدات التخزين وإدارتها، ونشر المعلومات في قاعدة البيانات، أدوات البحث عن مرافق للمستخدم
هناك استخدام تكنولوجيا تخزين البيانات وتوزيعها عبر الشبكة
هناك خدمة البيانات في طريقة استخدام تبادل المعلومات (الاستخدام العادل )
الموصى بها استخدام المعلومات إلى المستخدم إلى البيانات ذات الصلة
كلمة تستخدم في ربط المعلومات الافتراضية في القسم أو أحد من هذه الأشياء ، و العديد من نفس على الشاشة. هناك تعريف المكتبات الافتراضية في أكثر من معنى :
وهناك حلقة مفرغة من التنمية، والمكتبات الرقمية, وتهيئة المعلومات الرقمية (تشكيل) لتوزيع المعلومات (نشر) من استخدام المعلومات (استخدام وحفظ المعلومات (حفظ)

2. مكتبة إلكترونية
- المكتبة الافتراضية هي مجموعة من البيانات المرتبطة بشبكة الإنترنت بتخزين البيانات في الكمبيوتر المضيف (server)، من أجل الربط بين المعلومات المتاحة عبر الإنترنت
- المكتبة الالكترونية لا هيكل أو بناء الذي هو واحد من المكتبة هي خدمة تمكن من تلقاء نفسها ، بل هي ذات الصلة بالهياكل الأساسية للموارد البشرية و مصالح الجماعة على الفرد .- المكتبة الالكترونية مكتبة في اعتبارها، أن لديه القدرة على تخزين البيانات و الوثائق المراجع الالكترونية دخول في كثير عبر شبكة ربط
- المكتبة الالكترونية لا تتوفر معلومات في المكتبة ، ولكن من هو فقط واحدة من كثير، فضلا عن المعلومات من المستخدم يمكن الوصول إلى المعلومات التي هي بعيدة، حتى يتسنى للمستخدم الوصول إلى البيانات
الهدف السريع.خصائص المكتبة هو الوصول السريع الى المعلومات (الوصول)، يمكن للمستخدم الوصول إلى المعلومات، لا يقتصر في الوقت و المكان
قيود من المكتبة الظاهرية إلى أن المساحة المستخدمة لتخزين كميات كبيرة من البيانات، يجب أن يكون لديك برنامج لتتبع المعلومات فائقة الأداء، كما يوجد جهاز حاسب له قدرة على حفظ جميع البيانات شكل

3
مكتبة نظام أتمتة نظام المكتبات الآلي معلومات في المكتبة التي تحتوي على عمل الوحدة الرئيسية في 6
· توفير نظم (حيازة )
· تحليل الفئات القائمة (بتسجيل وتوزيع برنامج مجّانيّ )
· النظام. المواد و المواد (Serial)
· قدمت خدمة التداول - مساء )
· نظام استعلام العمل الموارد عبر الإنترنت للجمهور catalogy )
· نظام مكتبة النظام )


من الموجز، سوف يكون في المستقبل، فإن الاتجاه من المكتبة، فضلا عن مركز المعرفة أو نقطة الوصول هي معرفة من الكمبيوتر المضيف (server) هي خدمة بيانات بطريقة واحدة - تسوق من المعلوماترابط ينقلك إلى شاشة واحدة أن المستخدم يسهل العثور عليه التركيز على حقبة جديدة من المكتبة الالكترونية إدارة البيانات هو استخدام تكنولوجيا المعلومات كأداة في عمليات المكتبةمراجع


" اتجاه E - التعلم عبر الإنترنت". يمكن الوصول إليها من: http: //www. nstal. نت/watya. )2551 و تشرين الثاني/نوفمبر 21).
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: