นักข่าวพลเมือง Search form ค้นหา หน้าแรกข่าวรายการ9บล็อกกิจกรรมYou are การแปล - นักข่าวพลเมือง Search form ค้นหา หน้าแรกข่าวรายการ9บล็อกกิจกรรมYou are อังกฤษ วิธีการพูด

นักข่าวพลเมือง Search form ค้นหา หน

นักข่าวพลเมือง

Search form ค้นหา
หน้าแรก
ข่าว
รายการ9
บล็อก
กิจกรรม
You are here
บล็อก
พื้นดินแตกหลัง ม.อ.ปัตตานี : นักวิชาการ อธิบาย เป็นเรื่องธรรมชาติ ของดินโคลนที่เจอสภาพอากาศร้อน

หมวดหมู่: บล็อก | รายงานโดย Merpati Oren เมื่อ 17 Oct 2014 - 15:49




บริเวณหาดรูสะมิแล หลังมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี แห่งนี้เป็นพื้นที่ดินงอก อยู่ติดกับชายทะเล ก่อนหน้านี้สภาพพื้นที่เป็นดินโคลนเป็นบริเวณกว้าง ในหน้าฝนจะมีน้ำขังเหมือนสระน้ำทั่วไป ระยะนี้สภาพอากาศในตัวเมืองปัตตานีค่อนข้างร้อน ส่งผลให้ดินโคลนบริเวณนี้ แตกออกจากกัน และเมื่อมีการแชร์ภาพถ่ายของดินโคลนที่แห้งร้าวเป็นวงกว้าง ทำให้กลายเป็นจุดสนใจของนักท่องเที่ยวในจังหวัดปัตตานีและพื้นที่ใกล้เคียง รวมถึงในโลกโซเชียลมีเดีย ทั้ง Facebook , Line , Instagram และ Twitter ต่างทยอยกันมาเก็บภาพบรรยากาศจำนวนมาก

จากกระแสที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ทีมข่าวพลเมืองได้พูดคุยเรื่องนี้เพิ่มเติมกับ ซุกรี หะยีสาแม คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เพื่ออธิบายสิ่งที่เกิดนั้น

อ.ซุกรี กล่าวว่า พื้นที่ดินโคลนโดยปกติเมื่อเจอสภาพอากาศร้อน และแห้ง ส่งผลให้ผืนดินเป็นลักษณะของรอยร้าว ซึ่งถือเป็นเรื่องธรรมชาติ ที่มักเกิดขึ้นกับดินโคลนในช่วงหน้าร้อน

“กรณีปรากฏการณ์ผืนดินแห้ง และแตกร้าว บริเวณหลังสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ หรือ หาดรูสะมิแล อ.เมือง จังหวัดปัตตานี เนื่องจากที่ดินในบริเวณนั้นถูกนำมาจากการขุดลอก โคลนหรือดินเลน ไปทิ้งไว้ที่นั่น เมื่อน้ำแห้งและแดดเผา จึงกลายเป็นรอยแยก ซึ่งเป็นเรื่องปกติ เหมือนนาข้าว และนาเกลือทั่วๆไป ดินอ่อน ดินเลน ดินโคลน จะเป็นแบบนี้หมดในช่วงหน้าร้อน และในช่วงหน้าร้อนเมื่อน้ำระเหย การจับตัวของดินก็เริ่มหายไป จะเกิดเป็นรอยแยก บางที่ถ้าเป็นพื้นที่น้อยๆ ก็ไม่เป็นอะไรมาก แต่บังเอิญหลัง ม.อ.ปัตตานี มันมีพื้นที่กว้างและเป็นดินเลนที่เกิดจากการขุดลอก จึงกลายเป็นสนามกว้างๆ พอแห้งและมีแดดส่องจึงเกิดการแยกตัวอย่างที่เห็น เรื่องที่เกิดขึ้นในบริเวณนั้น เป็นความปกติของธรรมชาติ แต่ด้วยยุคโซเชียลมีเดีย ที่เริ่มมีการโพสรูปและแชร์ต่อๆกันไป จึงสร้างความน่าสนใจและดึงดูดผู้คนให้เดินทางมาดูและถ่ายรูปกันเป็นจำนวนมาก” อ.ซุกรี กล่าว

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Citizen journalists Search form search Home pageNewsItem 9BlogThe activity.You are hereBlogThe ground is cracked after. Engl Pattani: academics describe as the subject of the nature of clay mud vs. hot weather.Categories: blog, when the report by Oren Merpati | Oct 17, 2014-3:49. Leave holes in the beach area after Prince of songkla University, Pattani campus. This is an area of soil, sprouted next to the seaside. Previously, the area is clay mud, a wide area. In the rainy season are the wetlands like the common pool. The weather in the city of Pattani, quite hot. This resulted in khlonboriwen and when there are photos of clay, mud, dry, cracked a broad. Makes a point of interest to tourists in Pattani and nearby areas, including in the social media world, both Facebook and Twitter, window Line, Instagram store many photos together.Flow that occurs in the area. Team news, citizens talked more about this macro with the miracles of creatine can pigeonhole Yi Dean, Faculty of science, Prince of songkla University, Pattani campus technology and to explain what caused it.Oval clay area, said Zug, amphur clone normally hot and dry weather conditions, when you. Result in the land is the appearance of cracks where it is natural that often occurs with clay mud in the summer. “กรณีปรากฏการณ์ผืนดินแห้ง และแตกร้าว บริเวณหลังสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ หรือ หาดรูสะมิแล อ.เมือง จังหวัดปัตตานี เนื่องจากที่ดินในบริเวณนั้นถูกนำมาจากการขุดลอก โคลนหรือดินเลน ไปทิ้งไว้ที่นั่น เมื่อน้ำแห้งและแดดเผา จึงกลายเป็นรอยแยก ซึ่งเป็นเรื่องปกติ เหมือนนาข้าว และนาเกลือทั่วๆไป ดินอ่อน ดินเลน ดินโคลน จะเป็นแบบนี้หมดในช่วงหน้าร้อน และในช่วงหน้าร้อนเมื่อน้ำระเหย การจับตัวของดินก็เริ่มหายไป จะเกิดเป็นรอยแยก บางที่ถ้าเป็นพื้นที่น้อยๆ ก็ไม่เป็นอะไรมาก แต่บังเอิญหลัง ม.อ.ปัตตานี มันมีพื้นที่กว้างและเป็นดินเลนที่เกิดจากการขุดลอก จึงกลายเป็นสนามกว้างๆ พอแห้งและมีแดดส่องจึงเกิดการแยกตัวอย่างที่เห็น เรื่องที่เกิดขึ้นในบริเวณนั้น เป็นความปกติของธรรมชาติ แต่ด้วยยุคโซเชียลมีเดีย ที่เริ่มมีการโพสรูปและแชร์ต่อๆกันไป จึงสร้างความน่าสนใจและดึงดูดผู้คนให้เดินทางมาดูและถ่ายรูปกันเป็นจำนวนมาก” อ.ซุกรี กล่าว
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: