การวิจัยเรื่องความพึงพอใจในการใช้บริการสำนักวิทยบริการในมหาวิทยาลัยปทุ การแปล - การวิจัยเรื่องความพึงพอใจในการใช้บริการสำนักวิทยบริการในมหาวิทยาลัยปทุ อังกฤษ วิธีการพูด

การวิจัยเรื่องความพึงพอใจในการใช้บร

การวิจัยเรื่องความพึงพอใจในการใช้บริการสำนักวิทยบริการในมหาวิทยาลัยปทุมธานี
ปีการศึกษา 2558 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้บริการสำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยปทุมธานีและเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้บริการสำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยปทุมธานีจำแนกตามปัจจัยที่มีในส่วนบุคคล ซึ่งกลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้กลุ่มเป้าหมายการวิจัยเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยปทุมธานี และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้บริการสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยปทุมธานี ปีการศึกษา 2558 แบ่งเป็น 3 ตอน ได้แก่ตอนที่ 1แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้สำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยปทุมธานีและได้รับแบบสอบถามกลับมา ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ โดยผู้วิจัยทำการแจกแบบสอบถามไปยังนักศึกษาภายในมหาวิทยาลัย และได้รับแบบสอบถามกลับมา จำนวน 354 ฉบับ ซึ่งผู้วิจัยเก็บ รวบรวมแบบสอบถาม ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤศจิกายน 2558 ข้อมูลที่สมบูรณ์ทั้งหมด ด้วยโปรแกรมคำนวณสำเร็จรูปด้วย เพื่อวิเคราะห์หาค่าความถี่ จำนวนร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของผู้ใช้สำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยปทุมธานี ประจำปีการศึกษา 2558 พบว่า ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีจำนวน 136 คิดเป็นร้อยละ 38.4 และ เพศหญิง มีจำนวน 218 คน คิดเป็นร้อยละ 61.6 ตามลำดับ มีการศึกษาอยู่ในคณะบริหารธุรกิจและการบัญชี คิดเป็นร้อยละ 35 มากที่สุดตามลำดับ การสำรวจความพึงพอใจในการใช้บริการสำนักวิทยบริการในมหาวิทยาลัยปทุมธานี พบว่า ผู้ตอบ แบบสอบถามมีระดับความพึงพอใจในการใช้บริการสำนักวิทยบริการ ในภาพรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจระดับมากที่สุด และความพึงพอใจรายด้าน พบว่า ด้านระบบสารสนเทศ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ได้รับความพึงพอใจมากที่สุด ด้านกระบวนการบริการ ด้านบุคคลกรของสำนักวิทยบริการ และ ด้านสถานที่ ของสำนักวิทยบริการ ตามลำดับ ความแตกต่าง จำแนกตามเพศภาพรวม ทั้งเพศชายและหญิง มีความพึงพอใจในการใช้บริการสำนักวิทยบริการไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ พบว่า ความพึงพอใจของนักศึกษาโดยรวม ที่มีอายุ 18-20 ปี แตกต่างกับ อายุ 24-26 ปี แตกต่างกัน ตามลำดับ ภาพรวมจำแนกตามคณะ พบว่า คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี แตกต่างกับคณะพยาบาลศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี แตกต่างกับคณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ แตกต่างกับคณะรัฐศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ แตกต่างกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะรัฐศาสตร์ แตกต่างกับสาธารณสุขศาสตร์แตกต่างกัน ตามลำดับ ด้านภาพรวมจำแนกตามชั้นปี พบว่า ความพึงพอใจของนักศึกษา ชั้นปีที1 ไม่แตกต่างกับ ปีที่2 ปีที่3 ปีที่ 3 ไม่แตกต่างกับ ปีที่ 4

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การวิจัยเรื่องความพึงพอใจในการใช้บริการสำนักวิทยบริการในมหาวิทยาลัยปทุมธานีปีการศึกษา 2558 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้บริการสำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยปทุมธานีและเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้บริการสำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยปทุมธานีจำแนกตามปัจจัยที่มีในส่วนบุคคล ซึ่งกลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้กลุ่มเป้าหมายการวิจัยเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยปทุมธานี และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้บริการสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยปทุมธานี ปีการศึกษา 2558 แบ่งเป็น 3 ตอน ได้แก่ตอนที่ 1แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้สำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยปทุมธานีและได้รับแบบสอบถามกลับมา ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ โดยผู้วิจัยทำการแจกแบบสอบถามไปยังนักศึกษาภายในมหาวิทยาลัย และได้รับแบบสอบถามกลับมา จำนวน 354 ฉบับ ซึ่งผู้วิจัยเก็บ รวบรวมแบบสอบถาม ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤศจิกายน 2558 ข้อมูลที่สมบูรณ์ทั้งหมด ด้วยโปรแกรมคำนวณสำเร็จรูปด้วย เพื่อวิเคราะห์หาค่าความถี่ จำนวนร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของผู้ใช้สำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยปทุมธานี ประจำปีการศึกษา 2558 พบว่า ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีจำนวน 136 คิดเป็นร้อยละ 38.4 และ เพศหญิง มีจำนวน 218 คน คิดเป็นร้อยละ 61.6 ตามลำดับ มีการศึกษาอยู่ในคณะบริหารธุรกิจและการบัญชี คิดเป็นร้อยละ 35 มากที่สุดตามลำดับ การสำรวจความพึงพอใจในการใช้บริการสำนักวิทยบริการในมหาวิทยาลัยปทุมธานี พบว่า ผู้ตอบ แบบสอบถามมีระดับความพึงพอใจในการใช้บริการสำนักวิทยบริการ ในภาพรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจระดับมากที่สุด และความพึงพอใจรายด้าน พบว่า ด้านระบบสารสนเทศ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ได้รับความพึงพอใจมากที่สุด ด้านกระบวนการบริการ ด้านบุคคลกรของสำนักวิทยบริการ และ ด้านสถานที่ ของสำนักวิทยบริการ ตามลำดับ ความแตกต่าง จำแนกตามเพศภาพรวม ทั้งเพศชายและหญิง มีความพึงพอใจในการใช้บริการสำนักวิทยบริการไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ พบว่า ความพึงพอใจของนักศึกษาโดยรวม ที่มีอายุ 18-20 ปี แตกต่างกับ อายุ 24-26 ปี แตกต่างกัน ตามลำดับ ภาพรวมจำแนกตามคณะ พบว่า คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี แตกต่างกับคณะพยาบาลศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี แตกต่างกับคณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ แตกต่างกับคณะรัฐศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ แตกต่างกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะรัฐศาสตร์ แตกต่างกับสาธารณสุขศาสตร์แตกต่างกัน ตามลำดับ ด้านภาพรวมจำแนกตามชั้นปี พบว่า ความพึงพอใจของนักศึกษา ชั้นปีที1 ไม่แตกต่างกับ ปีที่2 ปีที่3 ปีที่ 3 ไม่แตกต่างกับ ปีที่ 4
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Research on customer satisfaction in the service of the University Library Thani
year 2558 with the objective. To determine the level of student satisfaction with the service Pathumthani University Library and to compare the satisfaction of students with access to the University Library in Pathum Thani by personal factors. The target group for this research. The researchers used targeted research university students Thani. And instruments used in this study. Satisfaction in the Services Resource Center. Pathumthani University 2558 academic year is divided into three episodes, including the first questionnaire about personal basis. The two respondents were satisfied with the student to use Pathumthani University Library and the response to the three recommendations made ​​by the researchers distributed questionnaires to students on campus. And received a questionnaire to 354 copies, which were collected. Gathering questionnaire On November 1, 2558 to November 25, 2558, complete all information. The program finished with calculations To determine the frequency, percentage, arithmetic. And standard deviation The user feedback, Pathumthani University Library. Academic Year 2558 found that users are mostly male, 136 female and 38.4 percent with a total of 218 people, representing 61.6 per cent respectively educated in business administration and accounting. Most 35 per cent respectively. The satisfaction survey in the Library Service in Pathumthani University found that the respondents are satisfied to use Library. The overall level of satisfaction at the highest level. And satisfaction found that the information system. The overall level. Get the most satisfaction. The service processes The personnel of the Library and the Library of the respective differences by sex, overall. Both male and female The satisfaction of the service Library no difference by age showed that the overall satisfaction of students, aged 18-20 years, 24-26 years age difference with different respectively BY overview. The Board found that the Faculty of Business and Accountancy. The difference with the Board of Nursing Faculty of Business and Accountancy The difference with the Faculty of Health Sciences Faculty of Nursing The difference with the Faculty of Political Science Faculty of Nursing The difference with the Faculty of Engineering And Political Science Public health differences with different respectively by year found that overall satisfaction of students, one is no different to last year, two years, three years, three years, four no different.

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
เสนอแนวคิดว่าประสิทธิภาพทางการปฏิบัติในการนำแนวคิดหรือทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใช้ปฏิบัติจะเป็นตัวกำหนดความจริงแห่งการกระทำของคนเราโดยดูที่ผลทางการปฏิบัติของสิ่งนั้นต่อชีวิตคนเราว่ามันจะจริงหรือเท็จเสนอแนวคิดว่าประสิทธิภาพทางการปฏิบัติในการนำแนวคิดหรือทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใช้ปฏิบัติจะเป็นตัวกำหนดความจริงแห่งการกระทำของคนเราโดยดูที่ผลทางการปฏิบัติของสิ่งนั้นต่อชีวิตคนเราว่ามันจะจริงหรือเท็จเสนอแนวคิดว่าประสิทธิภาพทางการปฏิบัติในการนำแนวคิดหรือทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใช้ปฏิบัติจะเป็นตัวกำหนดความจริงแห่งการกระทำของคนเราโดยดูที่ผลทางการปฏิบัติของสิ่งนั้นต่อชีวิตคนเราว่ามันจะจริงหรือเท็จเสนอแนวคิดว่าประสิทธิภาพทางการปฏิบัติในการนำแนวคิดหรือทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใช้ปฏิบัติจะเป็นตัวกำหนดความจริงแห่งการกระทำของคนเราโดยดูที่ผลทางการปฏิบัติของสิ่งนั้นต่อชีวิตคนเราว่ามันจะจริงหรือเท็จเสนอแนวคิดว่าประสิทธิภาพทางการปฏิบัติในการนำแนวคิดหรือทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใช้ปฏิบัติจะเป็นตัวกำหนดความจริงแห่งการกระทำของคนเราโดยดูที่ผลทางการปฏิบัติของสิ่งนั้นต่อชีวิตคนเราว่ามันจะจริงหรือเท็จเสนอแนวคิดว่าประสิทธิภาพทางการปฏิบัติในการนำแนวคิดหรือทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใช้ปฏิบัติจะเป็นตัวกำหนดความจริงแห่งการกระทำของคนเราโดยดูที่ผลทางการปฏิบัติของสิ่งนั้นต่อชีวิตคนเราว่ามันจะจริงหรือเท็จเสนอแนวคิดว่าประสิทธิภาพทางการปฏิบัติในการนำแนวคิดหรือทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใช้ปฏิบัติจะเป็นตัวกำหนดความจริงแห่งการกระทำของคนเราโดยดูที่ผลทางการปฏิบัติของสิ่งนั้นต่อชีวิตคนเราว่ามันจะจริงหรือเท็จเสนอแนวคิดว่าประสิทธิภาพทางการปฏิบัติในการนำแนวคิดหรือทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใช้ปฏิบัติจะเป็นตัวกำหนดความจริงแห่งการกระทำของคนเราโดยดูที่ผลทางการปฏิบัติของสิ่งนั้นต่อชีวิตคนเราว่ามันจะจริงหรือเท็จเสนอแนวคิดว่าประสิทธิภาพทางการปฏิบัติในการนำแนวคิดหรือทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใช้ปฏิบัติจะเป็นตัวกำหนดความจริงแห่งการกระทำของคนเราโดยดูที่ผลทางการปฏิบัติของสิ่งนั้นต่อชีวิตคนเราว่ามันจะจริงหรือเท็จเสนอแนวคิดว่าประสิทธิภาพทางการปฏิบัติในการนำแนวคิดหรือทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใช้ปฏิบัติจะเป็นตัวกำหนดความจริงแห่งการกระทำของคนเราโดยดูที่ผลทางการปฏิบัติของสิ่งนั้นต่อชีวิตคนเราว่ามันจะจริงหรือเท็จเสนอแนวคิดว่าประสิทธิภาพทางการปฏิบัติในการนำแนวคิดหรือทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใช้ปฏิบัติจะเป็นตัวกำหนดความจริงแห่งการกระทำของคนเราโดยดูที่ผลทางการปฏิบัติของสิ่งนั้นต่อชีวิตคนเราว่ามันจะจริงหรือเท็จเสนอแนวคิดว่าประสิทธิภาพทางการปฏิบัติในการนำแนวคิดหรือทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใช้ปฏิบัติจะเป็นตัวกำหนดความจริงแห่งการกระทำของคนเราโดยดูที่ผลทางการปฏิบัติของสิ่งนั้นต่อชีวิตคนเราว่ามันจะจริงหรือเท็จเสนอแนวคิดว่าประสิทธิภาพทางการปฏิบัติในการนำแนวคิดหรือทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใช้ปฏิบัติจะเป็นตัวกำหนดความจริงแห่งการกระทำของคนเราโดยดูที่ผลทางการปฏิบัติของสิ่งนั้นต่อชีวิตคนเราว่ามันจะจริงหรือเท็จเสนอแนวคิดว่าประสิทธิภาพทางการปฏิบัติในการนำแนวคิดหรือทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใช้ปฏิบัติจะเป็นตัวกำหนดความจริงแห่งการกระทำของคนเราโดยดูที่ผลทางการปฏิบัติของสิ่งนั้นต่อชีวิตคนเราว่ามันจะจริงหรือเท็จเสนอแนวคิดว่าประสิทธิภาพทางการปฏิบัติในการนำแนวคิดหรือทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใช้ปฏิบัติจะเป็นตัวกำหนดความจริงแห่งการกระทำของคนเราโดยดูที่ผลทางการปฏิบัติของสิ่งนั้นต่อชีวิตคนเราว่ามันจะจริงหรือเท็จเสนอแนวคิดว่าประสิทธิภาพทางการปฏิบัติในการนำแนวคิดหรือทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดมาใช้ปฏิบัติจะเป็นตัวกำหนดความจริงแห่งการกระทำของคนเราโดยดูที่ผลทางการปฏิบัติของสิ่งนั้นต่อชีวิตคนเราว่ามันจะจริงหรือเท็จ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: