ประเทศไทยใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ปร การแปล - ประเทศไทยใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ปร อังกฤษ วิธีการพูด

ประเทศไทยใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธ

ประเทศไทยใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประมุข มีกฎหมายสูงสุดคือรัฐธรรมนูญ ซึ่งฉบับ พ.ศ. 2550 ที่ใช้ในปัจจุบันเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 18 แห่งราชอาณาจักรไทย
สถาบันกษัตริย์
ประเทศไทยมีการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาตั้งแต่อดีต จนกระทั่งเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในสมัยรัชกาลที่ 7 แห่งราชวงศ์จักรี คณะราษฎร์ได้กระทำรัฐประหาร และเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประมุขแห่งอำนาจอธิปไตยทั้งสาม อันได้แก่ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายตุลาการ
ปัจจุบันประมุขแห่งราชอาณาจักรไทยคือพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงเป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี แม้ในทางปฏิบัติ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พระราชทานรัฐธรรมนูญ อันเป็นแบบอย่างในการปกครองประเทศ แต่เนื่องจากพระองค์ทรงปกครองประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์จึงไม่มีบทบาทโดยตรงทางการเมือง แต่ทรงเป็นศูนย์รวมและเป็นที่พึ่งทางจิตใจของประชาชนชาวไทยเสมอมา โดยเฉพาะในยามที่ประเทศชาติเกิดวิกฤตการณ์ทางการเมือง ดังเมื่อเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
ปัจจุบันพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ในฐานะประมุขแห่งรัฐเป็นเวลานานที่สุดในโลก นับจากเสด็จขึ้นครองราชย์ในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 จนถึงปัจจุบัน รวมเป็นเวลากว่า 60 ปี
รัฐบาลและสถาบันการปกครอง
อำนาจอธิปไตยของไทยแบ่งเป็น 3 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายบริหาร คือคณะรัฐมนตรีหรือรัฐบาล ฝ่ายนิติบัญญัติ คือรัฐสภา ประกอบด้วยสมาชิก 2 ส่วน คือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ซึ่งได้รับเลือกตั้งโดยประชาชน และวุฒิสมาชิก ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์ตามการเสนอขึ้นโปรดเกล้าฯ ของนายกรัฐมนตรี และสุดท้ายคือฝ่ายตุลาการ หรือศาล มีหน้าที่พิจารณาคดีความต่างๆ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ เพื่อให้เกิดความยุติธรรมแก่ประชาชน โดยรัฐธรรมนูญบัญญัติให้ศาลมีความเป็นอิสระจากรัฐสภาและรัฐบาล มีคณะกรรมการตุลาการทำหน้าที่ควบคุมการแต่งตั้งข้าราชการตุลาการ เพื่อให้ศาลเป็นสถาบันที่ธำรงไว้ซึ่งความบริสุทธิ์ยุติธรรมอย่างแท้จริง การบริหารงานของสถาบันการปกครองแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
1. ส่วนกลาง ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ และส่วนราชการอื่นที่เทียบเท่า
2. ส่วนภูมิภาค ประกอบด้วย 75 จังหวัด ซึ่งแยกย่อยได้เป็นอำเภอ กิ่งอำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน
3. ส่วนท้องถิ่น แบ่งเป็นเทศบาล (เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล) องค์การบริหารส่วนจังหวัด และองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) รวมทั้งมีการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ 2 แห่ง ได้แก่ กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ได้แบ่งเขตภูมิภาคของประเทศไทยออกเป็น 4 ภาค (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) คือ
1. ภาคกลาง มี 25 จังหวัด ประกอบด้วยกาญจนบุรี ชัยนาท นครนายก นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ์ พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี ราชบุรี ลพบุรี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบุรี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี และอ่างทอง รวม 18 จังหวัด และจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันออกอีก 7 จังหวัด คือ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง และสระแก้ว
2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี 19 จังหวัด ประกอบด้วยกาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวลำภู อำนาจเจริญ อุดรธานี และอุบลราชธานี
3. ภาคใต้ มี 14 จังหวัด ประกอบด้วยกระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา พัทลุง ภูเก็ต ยะลา ระนอง สงขลา สตูล และสุราษฎร์ธานี
4. ภาคเหนือ มี 17 จังหวัด ประกอบด้วยกำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ และอุทัยธานี
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประเทศไทยใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประมุข มีกฎหมายสูงสุดคือรัฐธรรมนูญ ซึ่งฉบับ พ.ศ. 2550 ที่ใช้ในปัจจุบันเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 18 แห่งราชอาณาจักรไทยสถาบันกษัตริย์ประเทศไทยมีการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาตั้งแต่อดีต จนกระทั่งเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในสมัยรัชกาลที่ 7 แห่งราชวงศ์จักรี คณะราษฎร์ได้กระทำรัฐประหาร และเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประมุขแห่งอำนาจอธิปไตยทั้งสาม อันได้แก่ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายตุลาการปัจจุบันประมุขแห่งราชอาณาจักรไทยคือพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงเป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี แม้ในทางปฏิบัติ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พระราชทานรัฐธรรมนูญ อันเป็นแบบอย่างในการปกครองประเทศ แต่เนื่องจากพระองค์ทรงปกครองประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์จึงไม่มีบทบาทโดยตรงทางการเมือง แต่ทรงเป็นศูนย์รวมและเป็นที่พึ่งทางจิตใจของประชาชนชาวไทยเสมอมา โดยเฉพาะในยามที่ประเทศชาติเกิดวิกฤตการณ์ทางการเมือง ดังเมื่อเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516ปัจจุบันพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ในฐานะประมุขแห่งรัฐเป็นเวลานานที่สุดในโลก นับจากเสด็จขึ้นครองราชย์ในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 จนถึงปัจจุบัน รวมเป็นเวลากว่า 60 ปีรัฐบาลและสถาบันการปกครองอำนาจอธิปไตยของไทยแบ่งเป็น 3 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายบริหาร คือคณะรัฐมนตรีหรือรัฐบาล ฝ่ายนิติบัญญัติ คือรัฐสภา ประกอบด้วยสมาชิก 2 ส่วน คือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ซึ่งได้รับเลือกตั้งโดยประชาชน และวุฒิสมาชิก ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์ตามการเสนอขึ้นโปรดเกล้าฯ ของนายกรัฐมนตรี และสุดท้ายคือฝ่ายตุลาการ หรือศาล มีหน้าที่พิจารณาคดีความต่างๆ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ เพื่อให้เกิดความยุติธรรมแก่ประชาชน โดยรัฐธรรมนูญบัญญัติให้ศาลมีความเป็นอิสระจากรัฐสภาและรัฐบาล มีคณะกรรมการตุลาการทำหน้าที่ควบคุมการแต่งตั้งข้าราชการตุลาการ เพื่อให้ศาลเป็นสถาบันที่ธำรงไว้ซึ่งความบริสุทธิ์ยุติธรรมอย่างแท้จริง การบริหารงานของสถาบันการปกครองแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ1. ส่วนกลาง ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ และส่วนราชการอื่นที่เทียบเท่า2. ส่วนภูมิภาค ประกอบด้วย 75 จังหวัด ซึ่งแยกย่อยได้เป็นอำเภอ กิ่งอำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน3. ส่วนท้องถิ่น แบ่งเป็นเทศบาล (เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล) องค์การบริหารส่วนจังหวัด และองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) รวมทั้งมีการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ 2 แห่ง ได้แก่ กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยากรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ได้แบ่งเขตภูมิภาคของประเทศไทยออกเป็น 4 ภาค (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) คือ1. ภาคกลาง มี 25 จังหวัด ประกอบด้วยกาญจนบุรี ชัยนาท นครนายก นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ์ พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี ราชบุรี ลพบุรี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบุรี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี และอ่างทอง รวม 18 จังหวัด และจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันออกอีก 7 จังหวัด คือ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง และสระแก้ว2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี 19 จังหวัด ประกอบด้วยกาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวลำภู อำนาจเจริญ อุดรธานี และอุบลราชธานี
3. ภาคใต้ มี 14 จังหวัด ประกอบด้วยกระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา พัทลุง ภูเก็ต ยะลา ระนอง สงขลา สตูล และสุราษฎร์ธานี
4. ภาคเหนือ มี 17 จังหวัด ประกอบด้วยกำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ และอุทัยธานี
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเทศไทยใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประมุข มีกฎหมายสูงสุดคือรัฐธรรมนูญ ซึ่งฉบับ พ.ศ. 2550 ที่ใช้ในปัจจุบันเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 18 แห่งราชอาณาจักรไทย
สถาบันกษัตริย์
ประเทศไทยมีการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาตั้งแต่อดีต จนกระทั่งเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในสมัยรัชกาลที่ 7 แห่งราชวงศ์จักรี คณะราษฎร์ได้กระทำรัฐประหาร และเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประมุขแห่งอำนาจอธิปไตยทั้งสาม อันได้แก่ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายตุลาการ
ปัจจุบันประมุขแห่งราชอาณาจักรไทยคือพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงเป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี แม้ในทางปฏิบัติ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้พระราชทานรัฐธรรมนูญ อันเป็นแบบอย่างในการปกครองประเทศ แต่เนื่องจากพระองค์ทรงปกครองประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์จึงไม่มีบทบาทโดยตรงทางการเมือง แต่ทรงเป็นศูนย์รวมและเป็นที่พึ่งทางจิตใจของประชาชนชาวไทยเสมอมา โดยเฉพาะในยามที่ประเทศชาติเกิดวิกฤตการณ์ทางการเมือง ดังเมื่อเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
ปัจจุบันพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ในฐานะประมุขแห่งรัฐเป็นเวลานานที่สุดในโลก นับจากเสด็จขึ้นครองราชย์ในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 จนถึงปัจจุบัน รวมเป็นเวลากว่า 60 ปี
รัฐบาลและสถาบันการปกครอง
อำนาจอธิปไตยของไทยแบ่งเป็น 3 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายบริหาร คือคณะรัฐมนตรีหรือรัฐบาล ฝ่ายนิติบัญญัติ คือรัฐสภา ประกอบด้วยสมาชิก 2 ส่วน คือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ซึ่งได้รับเลือกตั้งโดยประชาชน และวุฒิสมาชิก ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์ตามการเสนอขึ้นโปรดเกล้าฯ ของนายกรัฐมนตรี และสุดท้ายคือฝ่ายตุลาการ หรือศาล มีหน้าที่พิจารณาคดีความต่างๆ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ เพื่อให้เกิดความยุติธรรมแก่ประชาชน โดยรัฐธรรมนูญบัญญัติให้ศาลมีความเป็นอิสระจากรัฐสภาและรัฐบาล มีคณะกรรมการตุลาการทำหน้าที่ควบคุมการแต่งตั้งข้าราชการตุลาการ เพื่อให้ศาลเป็นสถาบันที่ธำรงไว้ซึ่งความบริสุทธิ์ยุติธรรมอย่างแท้จริง การบริหารงานของสถาบันการปกครองแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
1. ส่วนกลาง ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ และส่วนราชการอื่นที่เทียบเท่า
2. ส่วนภูมิภาค ประกอบด้วย 75 จังหวัด ซึ่งแยกย่อยได้เป็นอำเภอ กิ่งอำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน
3. ส่วนท้องถิ่น แบ่งเป็นเทศบาล (เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล) องค์การบริหารส่วนจังหวัด และองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) รวมทั้งมีการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ 2 แห่ง ได้แก่ กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ได้แบ่งเขตภูมิภาคของประเทศไทยออกเป็น 4 ภาค (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) คือ
1. ภาคกลาง มี 25 จังหวัด ประกอบด้วยกาญจนบุรี ชัยนาท นครนายก นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ์ พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี ราชบุรี ลพบุรี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบุรี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี และอ่างทอง รวม 18 จังหวัด และจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันออกอีก 7 จังหวัด คือ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง และสระแก้ว
2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี 19 จังหวัด ประกอบด้วยกาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวลำภู อำนาจเจริญ อุดรธานี และอุบลราชธานี
3. ภาคใต้ มี 14 จังหวัด ประกอบด้วยกระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา พัทลุง ภูเก็ต ยะลา ระนอง สงขลา สตูล และสุราษฎร์ธานี
4. ภาคเหนือ มี 17 จังหวัด ประกอบด้วยกำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ และอุทัยธานี
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The use of democratic regime With the king as the head of state. The constitution is the constitution, which copies the 2550 currently in use is the constitution of the kingdom of Thailand monarchy 18

.The absolute monarchy from the past, until the day 24 June.2475 7 reign of the Chakri Dynasty. Khana rat made a coup. And the change rule of absolute monarchy. A democracy the Royal Prince patriarch of the three sovereigntyAdministrative, legislative and judiciary
.At present, the overlord of the kingdom of Thailand's Bhumibol Adulyadej partnership มินทร าธิรา Choi บรมนาถบพิตร. He is king of the Chakri Dynasty. 9 reign. Although in practice.The model of rule. But since he had ruled the country under the constitution. The king has no direct role in politics. But he is the center and is just mental of the Thai people.So when this happens 14 October 2516
.At present, Bhumibol Adulyadej. He is the reigning monarch as head of state for a long time in the world. From his throne in the 9 June
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: