ในอดีตเมื่อถึงเดือนยี่ ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนพฤศจิกายน ของทุกป การแปล - ในอดีตเมื่อถึงเดือนยี่ ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนพฤศจิกายน ของทุกป อังกฤษ วิธีการพูด

ในอดีตเมื่อถึงเดือนยี่ ซึ่งตรงกับวั

ในอดีตเมื่อถึงเดือนยี่ ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนพฤศจิกายน ของทุกปี จะสว่างไสวไปด้วย “โคมยี่เป็ง” และ”ผางประทีป” บ้านเรือน และวัดวาอารามสะอาดหมดจด งดงามด้วย “ซุ้มประตูป่า” ในสายน้ำปิงดารดาษไปด้วยเปลวประทีปอันเกิดจาก กระทงกาบกล้วย และ สะเปา เปี่ยมไปด้วยความสุขจากศรัทธาในพระพุทธศาสนา
แต่ต่อมา ภาพเหล่านี้ค่อยๆ เลือนลางจางหายไป
มาถึงวันนี้ได้ร่วมใจกันฟื้นฟู และอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี เพื่อนำเสน่ห์ของช่วงวันคืนแห่งสีสันจากโคมยี่เป็ง กลับสู่เมืองอีกครั้ง “ประเพณีเดือนยี่เป็ง” จึงเป็นจุดเริ่มต้นของแรงบันดาลใจในการสืบสานวัฒนธรรมล้านนานี้ต่อไป...
ประเพณีเดือนยี่เป็ง เกิดขึ้นในเดือนยี่ของชาวไทยล้านนา ซึ่งตรงกับเดือนพฤศจิกายนขึ้น15 ค่ำ โดยก่อนจะถึงวันยี่เป็ง 2-3 วัน ชาวไทยล้านนาจะจัดทำความสะอาดบ้าน วัดวาอาราม ถนน เพื่อเตรียมเฉลิมฉลองประเพณียี่เป็ง
หลังจากนั้นก็จะนำก้านมะพร้าว ต้นกล้วย ต้นอ้อย ดอกไม้มาช่วยกันทำซุ้มประตูหน้าบ้าน และประตูวัด เรียกว่า “ประตูป่า” โดยมีความเชื่อว่าพระเวสสันดรจะเข้ามาในวัด และบ้านของตนเพื่อความเป็นสิริมงคลและชาวล้านนา
ครั้นเมื่อถึงตอนเช้าวันยี่เป็ง ก็จะมีการทำบุญด้วยการนำข้าวปลามาถวายพระสงฆ์ เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว เรียกว่า “ตานขันข้าว”
จัดเทศน์มหาชาติโดยกัณฑ์ที่นิยมเทศน์ในช่วงเดือนยี่นี้คือเวสสันดรชดกพร้อมกับนิมนต์พระธรรมถึกที่มีชื่อเสียงมาเทศนา เรียกว่า “ตั้งธรรมหลวง”
จัดพิธี “ตั้งธรรมหลวง” โดยตกแต่งพระอุโบสถให้เป็นป่าเพื่อเทศน์มหาชาติโดยกัณฑ์ที่นิยมเทศน์ในช่วงเดือนยี่นี้คือ “เวสสันดรชาดก” มีทั้งหมด 13 กัณฑ์ เทศน์ทั้งวันทั้งคืน
พอพลบค่ำก็จะนำกระถางเทียนหรือขี้ผึ้งเรียกว่า “ผางประทีป” จุดเรียงไว้ตามหน้าบ้านหรือตามรั้วเท่ากับอายุของคนในบ้าน พร้อมกับประดับโคมรูปลักษณ์ต่างๆ อาทิ โคมแขวน โคมกระต่าย โคมหมุน
การจุดโคมลอยก็เป็น กิจกรรมอีกหนึ่งอย่างที่นิยมเล่นกันในงานประเพณีเดือนยี่เป็ง โดยโคมลอยที่ปล่อยในตอนกลางวันทำด้วยกระดาษสีและมักจะนำเงิน สิ่งของ เพื่อเป็นรางวัลกับผู้ที่เก็บโคมนั้นได้ เรียกว่า “ว่าว” ส่วน “โคมไฟ” จะจุดในตอนกลางคืน ตามตำนานกล่าวว่าเพื่อบูชาพระเกตุแก้วจุฬามณี
สะเปา บรรจุดอกไม้ ธูปเทียน ข้าวสารอาหารแห้ง ลอยไปตามแม่น้ำ ไม่ก็เตรียมเป็นกระทงลอยเพื่อขอขมาและบูชาแม่พระคงคา
และยามค่ำคืนก็จัดเตรียม “สะเปา” บรรจุดอกไม้ ธูปเทียน ข้าวสารอาหารแห้ง ลอยไปตามแม่น้ำ ไม่ก็เตรียมเป็นกระทงลอยเพื่อขอขมาและบูชาแม่พระคงคา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ในอดีตเมื่อถึงเดือนยี่ ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนพฤศจิกายน ของทุกปี จะสว่างไสวไปด้วย “โคมยี่เป็ง” และ”ผางประทีป” บ้านเรือน และวัดวาอารามสะอาดหมดจด งดงามด้วย “ซุ้มประตูป่า” ในสายน้ำปิงดารดาษไปด้วยเปลวประทีปอันเกิดจาก กระทงกาบกล้วย และ สะเปา เปี่ยมไปด้วยความสุขจากศรัทธาในพระพุทธศาสนา แต่ต่อมา ภาพเหล่านี้ค่อยๆ เลือนลางจางหายไป มาถึงวันนี้ได้ร่วมใจกันฟื้นฟู และอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี เพื่อนำเสน่ห์ของช่วงวันคืนแห่งสีสันจากโคมยี่เป็ง กลับสู่เมืองอีกครั้ง “ประเพณีเดือนยี่เป็ง” จึงเป็นจุดเริ่มต้นของแรงบันดาลใจในการสืบสานวัฒนธรรมล้านนานี้ต่อไป... ประเพณีเดือนยี่เป็ง เกิดขึ้นในเดือนยี่ของชาวไทยล้านนา ซึ่งตรงกับเดือนพฤศจิกายนขึ้น15 ค่ำ โดยก่อนจะถึงวันยี่เป็ง 2-3 วัน ชาวไทยล้านนาจะจัดทำความสะอาดบ้าน วัดวาอาราม ถนน เพื่อเตรียมเฉลิมฉลองประเพณียี่เป็ง หลังจากนั้นก็จะนำก้านมะพร้าว ต้นกล้วย ต้นอ้อย ดอกไม้มาช่วยกันทำซุ้มประตูหน้าบ้าน และประตูวัด เรียกว่า “ประตูป่า” โดยมีความเชื่อว่าพระเวสสันดรจะเข้ามาในวัด และบ้านของตนเพื่อความเป็นสิริมงคลและชาวล้านนา ครั้นเมื่อถึงตอนเช้าวันยี่เป็ง ก็จะมีการทำบุญด้วยการนำข้าวปลามาถวายพระสงฆ์ เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว เรียกว่า “ตานขันข้าว” จัดเทศน์มหาชาติโดยกัณฑ์ที่นิยมเทศน์ในช่วงเดือนยี่นี้คือเวสสันดรชดกพร้อมกับนิมนต์พระธรรมถึกที่มีชื่อเสียงมาเทศนา เรียกว่า “ตั้งธรรมหลวง” จัดพิธี “ตั้งธรรมหลวง” โดยตกแต่งพระอุโบสถให้เป็นป่าเพื่อเทศน์มหาชาติโดยกัณฑ์ที่นิยมเทศน์ในช่วงเดือนยี่นี้คือ “เวสสันดรชาดก” มีทั้งหมด 13 กัณฑ์ เทศน์ทั้งวันทั้งคืน พอพลบค่ำก็จะนำกระถางเทียนหรือขี้ผึ้งเรียกว่า “ผางประทีป” จุดเรียงไว้ตามหน้าบ้านหรือตามรั้วเท่ากับอายุของคนในบ้าน พร้อมกับประดับโคมรูปลักษณ์ต่างๆ อาทิ โคมแขวน โคมกระต่าย โคมหมุน การจุดโคมลอยก็เป็น กิจกรรมอีกหนึ่งอย่างที่นิยมเล่นกันในงานประเพณีเดือนยี่เป็ง โดยโคมลอยที่ปล่อยในตอนกลางวันทำด้วยกระดาษสีและมักจะนำเงิน สิ่งของ เพื่อเป็นรางวัลกับผู้ที่เก็บโคมนั้นได้ เรียกว่า “ว่าว” ส่วน “โคมไฟ” จะจุดในตอนกลางคืน ตามตำนานกล่าวว่าเพื่อบูชาพระเกตุแก้วจุฬามณี สะเปา บรรจุดอกไม้ ธูปเทียน ข้าวสารอาหารแห้ง ลอยไปตามแม่น้ำ ไม่ก็เตรียมเป็นกระทงลอยเพื่อขอขมาและบูชาแม่พระคงคา และยามค่ำคืนก็จัดเตรียม “สะเปา” บรรจุดอกไม้ ธูปเทียน ข้าวสารอาหารแห้ง ลอยไปตามแม่น้ำ ไม่ก็เตรียมเป็นกระทงลอยเพื่อขอขมาและบูชาแม่พระคงคา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ในอดีตเมื่อถึงเดือนยี่ ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนพฤศจิกายน ของทุกปี จะสว่างไสวไปด้วย “โคมยี่เป็ง” และ”ผางประทีป” บ้านเรือน และวัดวาอารามสะอาดหมดจด งดงามด้วย “ซุ้มประตูป่า” ในสายน้ำปิงดารดาษไปด้วยเปลวประทีปอันเกิดจาก กระทงกาบกล้วย และ สะเปา เปี่ยมไปด้วยความสุขจากศรัทธาในพระพุทธศาสนา
แต่ต่อมา ภาพเหล่านี้ค่อยๆ เลือนลางจางหายไป
มาถึงวันนี้ได้ร่วมใจกันฟื้นฟู และอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี เพื่อนำเสน่ห์ของช่วงวันคืนแห่งสีสันจากโคมยี่เป็ง กลับสู่เมืองอีกครั้ง “ประเพณีเดือนยี่เป็ง” จึงเป็นจุดเริ่มต้นของแรงบันดาลใจในการสืบสานวัฒนธรรมล้านนานี้ต่อไป...
ประเพณีเดือนยี่เป็ง เกิดขึ้นในเดือนยี่ของชาวไทยล้านนา ซึ่งตรงกับเดือนพฤศจิกายนขึ้น15 ค่ำ โดยก่อนจะถึงวันยี่เป็ง 2-3 วัน ชาวไทยล้านนาจะจัดทำความสะอาดบ้าน วัดวาอาราม ถนน เพื่อเตรียมเฉลิมฉลองประเพณียี่เป็ง
หลังจากนั้นก็จะนำก้านมะพร้าว ต้นกล้วย ต้นอ้อย ดอกไม้มาช่วยกันทำซุ้มประตูหน้าบ้าน และประตูวัด เรียกว่า “ประตูป่า” โดยมีความเชื่อว่าพระเวสสันดรจะเข้ามาในวัด และบ้านของตนเพื่อความเป็นสิริมงคลและชาวล้านนา
ครั้นเมื่อถึงตอนเช้าวันยี่เป็ง ก็จะมีการทำบุญด้วยการนำข้าวปลามาถวายพระสงฆ์ เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว เรียกว่า “ตานขันข้าว”
จัดเทศน์มหาชาติโดยกัณฑ์ที่นิยมเทศน์ในช่วงเดือนยี่นี้คือเวสสันดรชดกพร้อมกับนิมนต์พระธรรมถึกที่มีชื่อเสียงมาเทศนา เรียกว่า “ตั้งธรรมหลวง”
จัดพิธี “ตั้งธรรมหลวง” โดยตกแต่งพระอุโบสถให้เป็นป่าเพื่อเทศน์มหาชาติโดยกัณฑ์ที่นิยมเทศน์ในช่วงเดือนยี่นี้คือ “เวสสันดรชาดก” มีทั้งหมด 13 กัณฑ์ เทศน์ทั้งวันทั้งคืน
พอพลบค่ำก็จะนำกระถางเทียนหรือขี้ผึ้งเรียกว่า “ผางประทีป” จุดเรียงไว้ตามหน้าบ้านหรือตามรั้วเท่ากับอายุของคนในบ้าน พร้อมกับประดับโคมรูปลักษณ์ต่างๆ อาทิ โคมแขวน โคมกระต่าย โคมหมุน
การจุดโคมลอยก็เป็น กิจกรรมอีกหนึ่งอย่างที่นิยมเล่นกันในงานประเพณีเดือนยี่เป็ง โดยโคมลอยที่ปล่อยในตอนกลางวันทำด้วยกระดาษสีและมักจะนำเงิน สิ่งของ เพื่อเป็นรางวัลกับผู้ที่เก็บโคมนั้นได้ เรียกว่า “ว่าว” ส่วน “โคมไฟ” จะจุดในตอนกลางคืน ตามตำนานกล่าวว่าเพื่อบูชาพระเกตุแก้วจุฬามณี
สะเปา บรรจุดอกไม้ ธูปเทียน ข้าวสารอาหารแห้ง ลอยไปตามแม่น้ำ ไม่ก็เตรียมเป็นกระทงลอยเพื่อขอขมาและบูชาแม่พระคงคา
และยามค่ำคืนก็จัดเตรียม “สะเปา” บรรจุดอกไม้ ธูปเทียน ข้าวสารอาหารแห้ง ลอยไปตามแม่น้ำ ไม่ก็เตรียมเป็นกระทงลอยเพื่อขอขมาและบูชาแม่พระคงคา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
In the past, when the brand, which falls on the full moon day of November, 15 dinner every year will be lit up with "illuminating lamp" and "Pang lamp" homes. Clean and beautiful temples. "The jungle."Broiler banana leaf and clean Bao, full of happiness from faith in Buddhism
.But later, these images will slowly fade away!Arrive today together to restore. And conservation of cultural traditions. The charm of the days of the colour of illuminating lamp, back into the city. "เดือนยี่เป็ง tradition."...
tradition brand Peng occurs in the brand of ชาวไทยล้านนา. Which match the November up 15 dinner by illuminating the day before 2-3 days. ชาวไทยล้านนา will clean the house, Temple Street to prepare to celebrate ประเพณียี่เป็ง
.After that, it will bring ก้านมะพร้าว banana trees, sugarcane, flowers come together to make the front and the temple door, called "soccer" the belief that vessantara came in the temple. Their house to the prosperity and Lanna and
.And when the morning Ye Peng. Will have the merit of food to monks, To dedicate the merit to deceased ancestors, called "Dan rice bowl"
.The gonad by the popular preachers in the brand is ชดก feebly with famous big invited the Dhamma sermon called "Set of royal"
.The ceremony. "Set of capital." By a forest to Buddha Temple Decoration by the popular preachers in the brand is "Jataka" are all 13 section The sermon, day and night!
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: