วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยได้ทําการเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูล 2 ประเภท ดังน
ี้
ประเภทที่ 1 แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลท
ี่
รวบรวมจากแบบสอบถามมี
ขั้นตอนในการเก็บรวบรวมดังน
ี้
1. ผู้วิจัยทําการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเอกสารต่างๆ ที่เก
ี่
ยวข้องเพ
ื่อเป็นกรอบใน
การศึกษาและนํามาสร้างแบบสอบถามเพ
ื่อใช้ในการเก็บขอม้ ูลจากกลุ่มตวอย ั ่าง ซึ่งได้แก่ชาวอิสลามใน
เขตกรุงเทพมหานคร ตามทไดี่ ้กําหนดจํานวนไว้ในเบื้
องต้นแล้วจํานวน300ชุด โดยเก็บรวบรวมข้อมูล
ตั้งแต่เดือนกันยายน 2557 ถึงเดือนมกราคม 2558
2. ตรวจสอบขอม้ ูลความถูกตองและครบถ ้ ้วนสมบูรณ์ของแบบสอบถามท
ี่ได้รับจาก
ผู้ตอบแบบสอบถามก่อนท
ี่
จะนํามาประมวลผลในระบบ
3. นําแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณแล์ ้ว นํามาลง
รหัสตัวเลขในแบบลงรหัสสําหรับการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ตามเกณฑ์ของเคร
ื่
องมือแต่ละส่วน
แล้วจึงนํามาประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลในขั้
นต่อไป
ประเภทที่ 2 ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นข้อมูลท
ี่
เก็บรวบรวมข้อมูลจากหนังสือ
บทความวิชาการ วารสารวิชาการ ผลงานวิจัยที่ทําการศึกษามาก่อนแล้ว และรวมถึงแหล่งข้อมูลทาง
อินเทอร์เน็ตท
ี่
สามารถสืบค้นได้โดยเกี่
ยวข้องกับปัจจัยความตระหนักในบรรจุภัณฑ์อาหารฮาลาล (Halal
Awareness) ปัจจัยคุณภาพอาหารด้านต่างๆ (Food Quality) ปัจจัยตราสินค้าของชาวอิสลาม
(Islamic Brand) ปัจจัยส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ (Product Ingredient)และปัจจัยความต
ั้งใจซื้
อต่อบรรจุ
ภัณฑ์อาหารท
ี่ไม่มีตราฮาลาลของผู้บริโภคชาวมุสลิม(Purchase Intention) เพ
ื่อใช้ในการกําหนดกรอบ
แนวความคิดในการวิจัย และสามารถใช้อ้างอิงในการเขียนรายงานผลการวิจัยได้