ตามประวัติเล่าสืบกันต่อมาหลายชั่วอายุคนแล้ว เมื่อประมาณ 400 ปีที่ผ่านม การแปล - ตามประวัติเล่าสืบกันต่อมาหลายชั่วอายุคนแล้ว เมื่อประมาณ 400 ปีที่ผ่านม อังกฤษ วิธีการพูด

ตามประวัติเล่าสืบกันต่อมาหลายชั่วอา

ตามประวัติเล่าสืบกันต่อมาหลายชั่วอายุคนแล้ว เมื่อประมาณ 400 ปีที่ผ่านมา มีชาวเพชรบูรณ์ กลุ่มหนึ่งมีอาชีพ ในการจับสัตว์น้ำ อยู่ในลำน้ำป่าสัก อยู่มาวันหนึ่งชาวประมงกลุ่มนี้ได้ออกหาปลาตามปกติ เช่นทุกวัน เผอิญวันนั้นเกิดเหตุการณ์ประหลาดตั้งแต่เช้าถึงบ่าย ไม่มีใครจับปลา ได้เลยสักตัวคล้ายดังกับว่าใต้พื้นน้ำ ไม่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่เลย สร้างความงุนงงแก่พวกเขาเป็นอย่างมาก ต่างพากันนั่ง ปรึกษาว่าจะทำประการใดดี
บริเวณที่ชายเหล่านั้นนั่งปรึกษากันอยู่นั้น ปัจจุบันคือ บริเวณ วังมะขาม แฟบ คำว่า มะขามแฟบ นั้น หมายถึง ไม้ระกำนั่นเอง บริเวณดังกล่าว อยู่ทางทิศเหนือของ เมืองเพชรบูรณ์ ทันใดนั้น กระแสน้ำ ในแม่น้ำแห่งนั้น หยุดไหลนิ่งอยู่กับที่ แล้วค่อย ๆ มีพราย น้ำผุดขึ้นมาที ละฟอง ทวีมากขึ้น มองดูคล้ายกันน้ำกำลังเดือดอยู่บนเตาไฟ ไม่นานก ็เปลี่ยนเป็นวังน้ำวนใหญ่และลึกมาก ณ ที่แห่งนั้นทุกคน ต่างมองด ูด้วยความมึนงง ไม่สามารถหาคำตอบว่าเกิดขึ้นจากอะไร เหตุการณ์ ดำเนินต่อไป จนกระทั่ง กระแสวังวนแห่งนั้น ได้เริ่มคืนสู่สภาพเดิม และดูดเอา พระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นมา จากใต้พื้นน้ำแห่งนั้น ลอยขึ้นมาอยู่ เหนือผิวนั้น มีการดำผุดดำว่ายอยู่ตลอดเวลา เหมือนอาการของ เด็กเล็ก ที่กำลังเล่นน้ำ เป็นที่แน่นอนว่าชาวประมง กลุ่มนั้นได้ประจักษ์ ถึงความ ศักดิ์สิทธิ์ จึงได้ลงไปอัญเชิญ ขึ้นมาประดิษฐาน บนบกให้ผู้คนทั้งหลาย ได้กราบไหว้สักการะบูชา และพร้อมใจกันอัญเชิญมาประดิษฐานไว้ที่ วัดไตรภูมิ ในปัจจุบัน
ในปีต่อมา ครั้นถึงเทศกาลสารทไทย พระพุทธรูปที่ถูกอัญเชิญขึ้นมา จากน้ำได้หายไปอย่างไร้ร่องรอย ชาวบ้านชาวเมือง ก็ออกตามหากันจ้าละหวั่น ในที่สุดก็ไปพบพระพุทธรูปองค์ นี้ตรงบริเวณที่พบครั้งแรกและกำลังดำผุดดำว่ายอยู่พอดี จึงได้อัญเชิญ มาอีกครั้งหนึ่ง
นับตั้งแต่บัดนั้นมา เมื่อถึงเทศกาลสารทไทย คือ ตรงกับวันแรม 15 ค่ำ เดือนสิบของทุกปีภายหลังจาก ถวายภัตตาหารเช้า แด่พระภิกษุสงฆ์แล้ว เจ้าเมืองเพชรบูรณ์ สมัยนั้นพร้อมด้วยข้าราชการ ตลอดจนประชาชนในเมืองเพชรบูรณ์ จึงร่วมกันอัญเชิญ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์นี้ ได้ทำพิธีสรงน้ำ ที่วังมะขามแฟบ ตรงที่พบครั้งแรกเป็นประจำทุกปี หากปีใดน้ำน้อยเข้าไป ไม่ได้ก็อัญเชิญไปสรงน้ำที่วัดโบสถ์ชนะมาร ทางเหนือเมืองเพชรบูรณ์ แล้วถวายนามท่านว่า “พระพุทธมหาธรรมราชา”
ส่วนความเชื่อถือในอีกทางหนึ่งนั้นเชื่อว่า เทพเจ้าผู้สิงสถิตย์ในองค์ พระพุทธมหาธรรมราชา เป็นพระภิกษุโบราณ 2 รูป ได้สร้างพระพุทธองค์นี้ ตั้งแต่ครั้งเป็นมนุษย์ ในสมัยลพบุรี ต่อมากรุงสุโขทัยได้แผ่อำนาจขยายอาณาเขต พระพุทธมหาธรรมราชา ได้ถูกเชิญไปประดิษฐานไว้ที่กรุงสุโขทัย จนมาถึงสมัยพระยาลิไทย กษัตริย์องค์ที่ 6 ในราชวงศ์พระร่วง ประจวบกับเพชรบูรณ์ ไว้ว่างกษัตริย์ผู้ครองนคร ได้โปรดให้ ออกญา ศรีเพชรรัตนานัคราภาบาล นามเดิมว่าเรือง ไปเป็นเจ้าครองเมืองเพชรบูรณ์ โดยขึ้นตรงต่อกรุงสุโขทัย พร้อมกันนี้ได้พระราชทานพระพุทธรูป “พระพุทธมหาธรรมราชา” มาด้วย สำหรับพระพระคู่บ้านคู่เมือง โดยมีกระแส รับสั่งให้มาทางลำน้ำ หากแวะที่ใดก็ให้สร้างวัดใหม่ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปองค์นี้
สำหรับการเดินทางมาในสมัยก่อน ล่องมาตามลำน้ำยมจากสุโขทัยผ่านพิษณุโลก พิจิตร นครสวรรค์ ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง อยุธยา แล้ววกเข้าลำน้ำป่าสักที่อยุธยา ผ่านสระบุรี แล้วสู่จุดหมายปลายทางที่เพชรบูรณ์ รวมระยะเวลาการเดินทางหนึ่งปีเต็ม เมื่อแรกมาถึงดำริ จะนำพระพุทธมหาธรรมราชาไปประดิษฐานไว้ที่วัดมหาธาตุ ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่ แต่เป็นการขัดพระบรมราชโองการ จึงสร้างวัดขึ้นมาใหม่ให้ชื่อว่า วัดไตรภูมิ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติแก่พระร่วง ซึ่งเป็นผู้พระราชนิพนธ์เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง
ในวันสารทไทยของทุกปี ทางจังหวัดเพชรบูรณ์ ได้อัญเชิญ พระพุทธมหาธรรมราชา ประดิษฐานบนบุษบก แห่จาก วัดไตรภูม ิไปตาม เส้นทางในเขตเทศบาล เพื่อให้ประชาชนได้สักการะบูชา และอัญเชิญ มาเฉลิมฉลองที่วัดไตรภูมิ ในวันสารทไทย ซึ่งเป็น วันที่สามของงาน ผู้ว่าราชการจังหวัดจะอัญเชิญ พระพุทธมหา ธรรมราชาประดิษฐาน บนเรือที่ท่าน้ำหน้าวัดไตรภูมิ ทวน กระแสน้ำ ในแม่น้ำป่าสัก ไปทำพิธีดำน้ำ ที่ท่าน้ำวัดโบสถ์ชนะมาร ซึ่งเป็นวังน้ำลึก เมื่อถึงบริเวณพิธี ผู้ว่าราชการ จังหวัดเพชรบูรณ์ จะอัญเชิญ พระพุทธมหาธรรมราชา เทิดไว้เหนือ หัวดำน้ำลง ไปพร้อมกัน โดยหันหน้าไปทางเหนือสามครั้ง หันหน้าลง ทางใต้สามครั้ง ตามความเชื่อที่ว่า จะทำให้น้ำท่าอุดมสมบูรณ์ บ้านเมืองร่มเย็นเป็นสุข
ความเชื่อในการอัญเชิญพระพุทธมหาธรรมราชาดำน้ำ ผู้ที่ทำการอัญเชิญจะต้องเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดเท่านั้น ทั้งนี้เพราะ ตำแหน่งเทียบ ได้กับเจ้าเมืองในสมัยโบราณ ซึ่งเป็นใหญ่ที่สุดในเมือง ความเสียสละของผู้เป็นใหญ่ ในนครที่มีความห่วงใย ในความทุกข์สุข ของราษฎรและได้ชื่อว่า เป็นผู้ทะนุบำรุงพุทธศาสนาให้มั่นคงสืบไป พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์นี้ จะให้ผู้อื่นที่ไม่ใช่ เจ้าเมืองอัญเชิญไปดำน้ำแทนไม่ได้ หากปีใดไม่มีการอัญเชิญ พระพุทธรูปองค์ดังกล่าวไปดำน้ำ ชาวเพชรบูรณ์ เชื่อกันว่าปีนั้นบ้านเมือง จะเกิดความแห้งแล้ง ข้าวยากหมากแพง และพระพุทธรูปองค์นี้จะหายไป
ความเชื่อในการอัญเชิญพระพุทธมหาธรรมราชาดำน้ำ ผู้ที่ทำการอัญเชิญจะต้องเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดเท่านั้น ทั้งนี้เพราะ ตำแหน่งเทียบ ได้กับเจ้าเมืองในสมัยโบราณ ซึ่งเป็นใหญ่ที่สุดในเมือง ความเสียสละของผู้เป็นใหญ่ ในนครที่มีความห่วงใย ในความทุกข์สุข ของราษฎรและได้ชื่อว่า เป็นผู้ทะนุบำรุงพุทธศาสนาให้มั่นคงสืบไป พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์นี้ จะให้ผู้อื่นที่ไม่ใช่ เจ้าเมืองอัญเชิญไปดำน้ำแทนไม่ได้ หากปีใดไม่มีการอัญเชิญ พระพุทธรูปองค์ดังกล่าวไปดำน้ำ ชาวเพชรบูรณ์ เชื่อกันว่าปีนั้นบ้านเมือง จะเกิดความแห้งแล้ง ข้าวยากหมากแพง และพระพุทธรูปองค์นี้จะหายไป
งานประเพณีอุ้มพระดำน้ำ ของจังหวัดเพชรบูรณ์ ประเพณีหนึ่งเดียวในโลก จะเป็นประเพณีที่สืบทอด กันไว้เป็นมรดก ให

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
According to the narrative history, generations later, and. When about 400 years ago, the Muslim group of occupations in the phetchabun catch Aquarium is the PA SAK River in one day, this group of fishermen out fishing that day, as every day thing is a freak occurrence, from morning to afternoon. No one was catching fish with a similar breadth of that ground water. There are no creatures lived. Create a dazed to them is very much alike to sit, what you think is good advisors.บริเวณที่ชายเหล่านั้นนั่งปรึกษากันอยู่นั้น ปัจจุบันคือ บริเวณ วังมะขาม แฟบ คำว่า มะขามแฟบ นั้น หมายถึง ไม้ระกำนั่นเอง บริเวณดังกล่าว อยู่ทางทิศเหนือของ เมืองเพชรบูรณ์ ทันใดนั้น กระแสน้ำ ในแม่น้ำแห่งนั้น หยุดไหลนิ่งอยู่กับที่ แล้วค่อย ๆ มีพราย น้ำผุดขึ้นมาที ละฟอง ทวีมากขึ้น มองดูคล้ายกันน้ำกำลังเดือดอยู่บนเตาไฟ ไม่นานก ็เปลี่ยนเป็นวังน้ำวนใหญ่และลึกมาก ณ ที่แห่งนั้นทุกคน ต่างมองด ูด้วยความมึนงง ไม่สามารถหาคำตอบว่าเกิดขึ้นจากอะไร เหตุการณ์ ดำเนินต่อไป จนกระทั่ง กระแสวังวนแห่งนั้น ได้เริ่มคืนสู่สภาพเดิม และดูดเอา พระพุทธรูปองค์นี้ขึ้นมา จากใต้พื้นน้ำแห่งนั้น ลอยขึ้นมาอยู่ เหนือผิวนั้น มีการดำผุดดำว่ายอยู่ตลอดเวลา เหมือนอาการของ เด็กเล็ก ที่กำลังเล่นน้ำ เป็นที่แน่นอนว่าชาวประมง กลุ่มนั้นได้ประจักษ์ ถึงความ ศักดิ์สิทธิ์ จึงได้ลงไปอัญเชิญ ขึ้นมาประดิษฐาน บนบกให้ผู้คนทั้งหลาย ได้กราบไหว้สักการะบูชา และพร้อมใจกันอัญเชิญมาประดิษฐานไว้ที่ วัดไตรภูมิ ในปัจจุบัน ในปีต่อมา ครั้นถึงเทศกาลสารทไทย พระพุทธรูปที่ถูกอัญเชิญขึ้นมา จากน้ำได้หายไปอย่างไร้ร่องรอย ชาวบ้านชาวเมือง ก็ออกตามหากันจ้าละหวั่น ในที่สุดก็ไปพบพระพุทธรูปองค์ นี้ตรงบริเวณที่พบครั้งแรกและกำลังดำผุดดำว่ายอยู่พอดี จึงได้อัญเชิญ มาอีกครั้งหนึ่ง นับตั้งแต่บัดนั้นมา เมื่อถึงเทศกาลสารทไทย คือ ตรงกับวันแรม 15 ค่ำ เดือนสิบของทุกปีภายหลังจาก ถวายภัตตาหารเช้า แด่พระภิกษุสงฆ์แล้ว เจ้าเมืองเพชรบูรณ์ สมัยนั้นพร้อมด้วยข้าราชการ ตลอดจนประชาชนในเมืองเพชรบูรณ์ จึงร่วมกันอัญเชิญ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์นี้ ได้ทำพิธีสรงน้ำ ที่วังมะขามแฟบ ตรงที่พบครั้งแรกเป็นประจำทุกปี หากปีใดน้ำน้อยเข้าไป ไม่ได้ก็อัญเชิญไปสรงน้ำที่วัดโบสถ์ชนะมาร ทางเหนือเมืองเพชรบูรณ์ แล้วถวายนามท่านว่า “พระพุทธมหาธรรมราชา” ส่วนความเชื่อถือในอีกทางหนึ่งนั้นเชื่อว่า เทพเจ้าผู้สิงสถิตย์ในองค์ พระพุทธมหาธรรมราชา เป็นพระภิกษุโบราณ 2 รูป ได้สร้างพระพุทธองค์นี้ ตั้งแต่ครั้งเป็นมนุษย์ ในสมัยลพบุรี ต่อมากรุงสุโขทัยได้แผ่อำนาจขยายอาณาเขต พระพุทธมหาธรรมราชา ได้ถูกเชิญไปประดิษฐานไว้ที่กรุงสุโขทัย จนมาถึงสมัยพระยาลิไทย กษัตริย์องค์ที่ 6 ในราชวงศ์พระร่วง ประจวบกับเพชรบูรณ์ ไว้ว่างกษัตริย์ผู้ครองนคร ได้โปรดให้ ออกญา ศรีเพชรรัตนานัคราภาบาล นามเดิมว่าเรือง ไปเป็นเจ้าครองเมืองเพชรบูรณ์ โดยขึ้นตรงต่อกรุงสุโขทัย พร้อมกันนี้ได้พระราชทานพระพุทธรูป “พระพุทธมหาธรรมราชา” มาด้วย สำหรับพระพระคู่บ้านคู่เมือง โดยมีกระแส รับสั่งให้มาทางลำน้ำ หากแวะที่ใดก็ให้สร้างวัดใหม่ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปองค์นี้
สำหรับการเดินทางมาในสมัยก่อน ล่องมาตามลำน้ำยมจากสุโขทัยผ่านพิษณุโลก พิจิตร นครสวรรค์ ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง อยุธยา แล้ววกเข้าลำน้ำป่าสักที่อยุธยา ผ่านสระบุรี แล้วสู่จุดหมายปลายทางที่เพชรบูรณ์ รวมระยะเวลาการเดินทางหนึ่งปีเต็ม เมื่อแรกมาถึงดำริ จะนำพระพุทธมหาธรรมราชาไปประดิษฐานไว้ที่วัดมหาธาตุ ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่ แต่เป็นการขัดพระบรมราชโองการ จึงสร้างวัดขึ้นมาใหม่ให้ชื่อว่า วัดไตรภูมิ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติแก่พระร่วง ซึ่งเป็นผู้พระราชนิพนธ์เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง
ในวันสารทไทยของทุกปี ทางจังหวัดเพชรบูรณ์ ได้อัญเชิญ พระพุทธมหาธรรมราชา ประดิษฐานบนบุษบก แห่จาก วัดไตรภูม ิไปตาม เส้นทางในเขตเทศบาล เพื่อให้ประชาชนได้สักการะบูชา และอัญเชิญ มาเฉลิมฉลองที่วัดไตรภูมิ ในวันสารทไทย ซึ่งเป็น วันที่สามของงาน ผู้ว่าราชการจังหวัดจะอัญเชิญ พระพุทธมหา ธรรมราชาประดิษฐาน บนเรือที่ท่าน้ำหน้าวัดไตรภูมิ ทวน กระแสน้ำ ในแม่น้ำป่าสัก ไปทำพิธีดำน้ำ ที่ท่าน้ำวัดโบสถ์ชนะมาร ซึ่งเป็นวังน้ำลึก เมื่อถึงบริเวณพิธี ผู้ว่าราชการ จังหวัดเพชรบูรณ์ จะอัญเชิญ พระพุทธมหาธรรมราชา เทิดไว้เหนือ หัวดำน้ำลง ไปพร้อมกัน โดยหันหน้าไปทางเหนือสามครั้ง หันหน้าลง ทางใต้สามครั้ง ตามความเชื่อที่ว่า จะทำให้น้ำท่าอุดมสมบูรณ์ บ้านเมืองร่มเย็นเป็นสุข
ความเชื่อในการอัญเชิญพระพุทธมหาธรรมราชาดำน้ำ ผู้ที่ทำการอัญเชิญจะต้องเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดเท่านั้น ทั้งนี้เพราะ ตำแหน่งเทียบ ได้กับเจ้าเมืองในสมัยโบราณ ซึ่งเป็นใหญ่ที่สุดในเมือง ความเสียสละของผู้เป็นใหญ่ ในนครที่มีความห่วงใย ในความทุกข์สุข ของราษฎรและได้ชื่อว่า เป็นผู้ทะนุบำรุงพุทธศาสนาให้มั่นคงสืบไป พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์นี้ จะให้ผู้อื่นที่ไม่ใช่ เจ้าเมืองอัญเชิญไปดำน้ำแทนไม่ได้ หากปีใดไม่มีการอัญเชิญ พระพุทธรูปองค์ดังกล่าวไปดำน้ำ ชาวเพชรบูรณ์ เชื่อกันว่าปีนั้นบ้านเมือง จะเกิดความแห้งแล้ง ข้าวยากหมากแพง และพระพุทธรูปองค์นี้จะหายไป
ความเชื่อในการอัญเชิญพระพุทธมหาธรรมราชาดำน้ำ ผู้ที่ทำการอัญเชิญจะต้องเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดเท่านั้น ทั้งนี้เพราะ ตำแหน่งเทียบ ได้กับเจ้าเมืองในสมัยโบราณ ซึ่งเป็นใหญ่ที่สุดในเมือง ความเสียสละของผู้เป็นใหญ่ ในนครที่มีความห่วงใย ในความทุกข์สุข ของราษฎรและได้ชื่อว่า เป็นผู้ทะนุบำรุงพุทธศาสนาให้มั่นคงสืบไป พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์นี้ จะให้ผู้อื่นที่ไม่ใช่ เจ้าเมืองอัญเชิญไปดำน้ำแทนไม่ได้ หากปีใดไม่มีการอัญเชิญ พระพุทธรูปองค์ดังกล่าวไปดำน้ำ ชาวเพชรบูรณ์ เชื่อกันว่าปีนั้นบ้านเมือง จะเกิดความแห้งแล้ง ข้าวยากหมากแพง และพระพุทธรูปองค์นี้จะหายไป
งานประเพณีอุ้มพระดำน้ำ ของจังหวัดเพชรบูรณ์ ประเพณีหนึ่งเดียวในโลก จะเป็นประเพณีที่สืบทอด กันไว้เป็นมรดก ให

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: