ปัญหา 3ข้อวินิจฉัยการพยาบาล เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดข้อมูลสน การแปล - ปัญหา 3ข้อวินิจฉัยการพยาบาล เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดข้อมูลสน อังกฤษ วิธีการพูด

ปัญหา 3ข้อวินิจฉัยการพยาบาล เสี่ยงต

ปัญหา 3
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด
ข้อมูลสนับสนุนO:ผู้ป่วยดมยาสลบชนิด General Anesthesia
O:ผู้ป่วยเข้ารับการผ่าตัดModified radical mastectomy
O:หลังผ่าตัดผู้ป่วยมีอาการคลื่นไส้อาเจียนไอมีเสมหะ

วัตถุประสงค์ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด
เกณฑ์การประเมิน
-ผู้ป่วยไม่มีเลือดออกผิดปกติ การหายใจปกติ สามารถไอเอาเสมหะออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เคลื่อนไหวร่างกายได้ในในวันแรกๆหลังไดรับการผ่าตัด
-Vital sign อยู่ในเกณฑ์ปกติ P = 60-100 ครั้ง/นาที R = 16-24 ครั้ง/นาที T = 36.4-37.5 องศาเซลเซียส
BP = 90/60-120/80 mmHg
กิจกรรมการพยาบาล
1.Checke Vital sign ก่อนเข้ารับการผ่าตัด เพื่อใช้เปรียบเทียบอาการก่อนและหลังการผ่านตัด
2.หลังจากผ่าตัดกลับมา ให้ Check Vital signทุก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 ครั้ง และทุก 1ชั่วโมง จนกว่า Vital sign จะอยู่ในเกณฑ์ปกติ เนื่องจากการผ่าตัดทำให้มีการสูญเสียเลือด ส่งผลให้การไหลเวียนเลือดผิดปกติ ชีพจรเต้นช้า และการดมยาสลบ GA ซึ่งมีฤทธิ์กดการหายใจหลังผ่าตัดผู้ป่วยอาจมีอาการหายใจเร็ว หรือใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจจึงต้อง CheckVital sign บ่อยๆ เพราะจะช่วยให้ตรวจพบความผิดปกติของระบบไหลเวียนเลือดได้ และการหายใจได้(สุปาณี เสนาดิสัย,2547:หน้า692-698)
3.สังเกตลักษณะของผิวหนัง ซีด แห้งขึ้น ร้อนหรือเย็น และระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วยตรวจดูแผลผ่าตัดว่ามีเลือดหรือสิ่งแปลกปลอมไหลซึมออกมาดูแลสาย Radivac drain ต่อลงขวดให้เรียบร้อยสังเกตเลือดที่ออกภายในขวดหากมากกว่า 200 cc. ต่อชั่วโมงให้ Clamp สายไว้หากพบให้รายงานแพทย์เพื่อสังเกตอาการตกเลือดและการมีเลือดและสารคัดหลั่งไหลมามากผิดปกติซึ่งอาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยทำให้เกิดภาวะช็อคจากการเสียเลือดได้(ลินจง จันทร์พุฒ:หน้า 60-69)
4.Observeอาการแทรกซ้อนจากการดมยาสลบอาการคลื่นไส้อาเจียนให้เตรียมชามรูปไตไว้ข้างเตียงหรือใกล้ตัวผู้ป่วย และให้ผู้ป่วยไอเอาเสมหะออกมาอย่างมีประสิทธิภาพเนื่องจากการดมยามสลบชนิด General Anesthesisจะมีฤทธิ์กดการหายใจและการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด เมื่อผู้ป่วยรู้สึกตัวอาจทำให้มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน หายใจเร็ว มีเสมหะและน้ำลายมากจึงต้อง Observe อาการแทรกซ้อนอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันอาการแทรกซ้อนที่อาจทำให้เกิดอันตรายกับผู้ป่วย ได้แก่ การสำลักอาเจียนเข้าไปในปอด(สุปาณี เสนาดิสัย,2547:หน้า692)
5.ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ และไอเอาเสมหะออกมา ระวังอย่าให้ผู้ป่วยสำลัก อาเจียนเข้าไปในปอด
เนื่องจากการผ่าตัดทำให้เกิดการอุดตันของหลอดลมในบางส่วนของปวดเกิดปอดแฟบ และหายใจลึกๆ จะช่วยทำให้เกิดอาการไอซึ่งจะช่วยให้ปอดขยายได้เต็มที่ และการไอจะช่วยกำจัดเสมหะที่มีอยู่ เพื่อป้องกันการอุดตันในหลอดลมได้(สุปาณี เสนาดิสัย,2547:หน้า681)
6.กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวหลังการผ่าตัดโดยเร็ว ให้ผู้ป่วยได้ออกกำลังแขน ขาหลังผ่าตัด ได้แก่ ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลไม่ให้นั่งห้อยเท้านานๆ
เนื่องจากการผ่าตัด อาจทำให้เกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำและมีก้อนเลือดมาเกาะบริเวณนั้นส่งผลไปอุดกั้นการไหลเวียนในหลอดเลือดดำจึงต้องให้ผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวหลังผ่าตัดให้เร็วเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นในหลอดเลือดดำ และไม่ให้นั่งห้อยเท้านานๆ เพราะจะทำให้มีการคั่งของเลือดบริเวณปลายเท้า
7.ยกไม้กั้นเตียงขึ้นเนื่องจากหลังผ่าตัด ผู้ป่วยอาจยังไม่ค่อยรู้สึกตัวดี สลึมสลือ จึงต้องยกไม้กั้นเตียงขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยตกเตียงและเกิดอันตราย(สุปาณี เสนาดิสัย,2547:หน้า696-698)
8.ส่งเสริมการทำงานของ Radivacdrianโดยตรวจดูสายระบายของ Radivac drain ไม่ให้หักพับงอ หรืออุดตัน บีบรีดสายท่อระบายRadivacdrain ทุก 1-2 ชั่วโมง เนื่องจากการใส่ท่อระบายRadivac drain คือการระบายเลือดลสารคัดหลั่ง อาจมีตะกอน หรือลิ่มเลือดมาอุดตันสายทำให้เลือดและสายคัดหลั่งระบายออกมาไม่ได้การตรวจดูสายจะช่วยป้องกันไม่ให้ตะกอนหรือลิ่มเลือดมาอุดกั้นสายตรวจดูขวด Radivac drain หากเต็มให้เปลี่ยนขวดโดยยึดหลักปราศจากเชื้อ และclampสายท่อระบายทุกครั้ง เพื่อป้องกันการติดเชื้อและการของเลือดและสารคัดหลั่งขณะเปลี่ยนขวดดูแลให้ขวด Radivac drain เป็นสูญญากาศอยู่เสมอโดยดูที่ฝาขวดหากเป็นสูญญากาศฝาจะหด ถ้าไม่เป็นสูญญากาศฝาจะขยายตัวออก เนื่องจากเครื่อง Radivac drainไม่เป็นสูญญากาศจะไม่สามารถดูดเลือดและสารคัดหลั่งออกได้จัดวางขวด Radivac drain ให้อยู่ในระดับต่ำกว่าแผล เพื่อป้องกันการไหลย้อนกลับของเลือดและสารคัดหลั่ง แนะนำไม่ให้ผู้ป่วยออกแรงมากในข้างที่ใส่ Radivac drain ได้แก่ไม่ใช้แขนข้างที่ใส่ท่อ Radivac drainลากหรือดึงของหนักเพื่อป้องกันการหลุดของRadivac drain(ลินจง จันทร์พุฒ:หน้า 60-69)

9.ถ้าผู้ป่วยบ่นปวดมากให้ยา Morphin 3 mg ทางหลอดเลือดดำทุก 6 ชั่วโมง ตามแผนการรักษาของแพทย์
เนื่องจาก หากผู้ป่วยมีอาการปวดแผลมากอาจทำให้เกิดอาการกระสับกระส่ายและอาจเกิดภาวะช็อค จึงต้องให้ยา Morphin 3 mg ทางหลอดเลือดดำทุก 6 ชั่วโมง ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อบรรเทาอาการปวด และป้องกันอาการกระสับกระส่ายและการเกิดภาวะช็อคจากการปวดมากๆ
10.สังเกตอาการข้างเคียงของยา Morphin 3 mg หากมีอากรข้างเคียง ได้แก่ อาการคลื่นไส้อาเจียน ให้ยา Plasil 10 mg ทุก 8 ชั่วโมง ตามแผนการรักษาของแพทย์
เพื่อบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน(ปราณี ทู้ไพเราะ ,2554)
การประเมินผล
-ผู้ป่วยไม่มีเลือดออกผิดปกติ การหายใจปกติ สามารถไอเอาเสมหะออกมาได้ เคลื่อนไหวร่างกายได้ในวันที่ 2 หลังการผ่าตัด มีอาการคลื่นไส้ แต่ไม่อาเจียน
-Vital sign มีค่าคือ P = 80 ครั้ง/นาที R = 20 ครั้ง/นาที T = 36.8 องศาเซลเซียส BP = 100/70 mmHg
ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติตามแผน
-ผู้ป่วยไม่บ่นปวดมากจึงไม่ได้ให้ยา Morphin 3 mg ทางหลอดเลือดดำทุก 6 ชั่วโมง และ Plasil10 mg ทุก 8 ชั่วโมง ตามแผนการรักษาของแพทย์
การนำผลการประเมินมาปรับปรุง
-หาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับอาการแทรกซ้อนหลังผ่าตัดและอาการแหรกซ้อนจากการดมยาสลบ เพื่อให้การพยาบาลให้ครบและถูกต้อง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Issue 3Nursing diagnosis text Risk of complications after surgery.Support information: O the patient anesthesia General Anesthesia types. O: the patient undergoing surgery Modified radical mastectomyO: after surgery, patients with nausea and vomiting, cough and sputum. The objective, No complications after surgery.Evaluation criteria. -The patient is not bleeding disorders. Normal breathing, cough and sputum-removing coming out can be efficiently. Body in motion in the early days after surgery-Vital sign is a normal P = 60-100 times/minute R = 16-24 times/minute T = 36.4-37.5 degrees Celsius. BP = 90/60-120/80 mmHgNursing activities.1.Checke Vital sign ก่อนเข้ารับการผ่าตัด เพื่อใช้เปรียบเทียบอาการก่อนและหลังการผ่านตัด2.หลังจากผ่าตัดกลับมา ให้ Check Vital signทุก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 ครั้ง และทุก 1ชั่วโมง จนกว่า Vital sign จะอยู่ในเกณฑ์ปกติ เนื่องจากการผ่าตัดทำให้มีการสูญเสียเลือด ส่งผลให้การไหลเวียนเลือดผิดปกติ ชีพจรเต้นช้า และการดมยาสลบ GA ซึ่งมีฤทธิ์กดการหายใจหลังผ่าตัดผู้ป่วยอาจมีอาการหายใจเร็ว หรือใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจจึงต้อง CheckVital sign บ่อยๆ เพราะจะช่วยให้ตรวจพบความผิดปกติของระบบไหลเวียนเลือดได้ และการหายใจได้(สุปาณี เสนาดิสัย,2547:หน้า692-698)3.สังเกตลักษณะของผิวหนัง ซีด แห้งขึ้น ร้อนหรือเย็น และระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วยตรวจดูแผลผ่าตัดว่ามีเลือดหรือสิ่งแปลกปลอมไหลซึมออกมาดูแลสาย Radivac drain ต่อลงขวดให้เรียบร้อยสังเกตเลือดที่ออกภายในขวดหากมากกว่า 200 cc. ต่อชั่วโมงให้ Clamp สายไว้หากพบให้รายงานแพทย์เพื่อสังเกตอาการตกเลือดและการมีเลือดและสารคัดหลั่งไหลมามากผิดปกติซึ่งอาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยทำให้เกิดภาวะช็อคจากการเสียเลือดได้(ลินจง จันทร์พุฒ:หน้า 60-69)4.Observeอาการแทรกซ้อนจากการดมยาสลบอาการคลื่นไส้อาเจียนให้เตรียมชามรูปไตไว้ข้างเตียงหรือใกล้ตัวผู้ป่วย และให้ผู้ป่วยไอเอาเสมหะออกมาอย่างมีประสิทธิภาพเนื่องจากการดมยามสลบชนิด General Anesthesisจะมีฤทธิ์กดการหายใจและการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด เมื่อผู้ป่วยรู้สึกตัวอาจทำให้มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน หายใจเร็ว มีเสมหะและน้ำลายมากจึงต้อง Observe อาการแทรกซ้อนอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันอาการแทรกซ้อนที่อาจทำให้เกิดอันตรายกับผู้ป่วย ได้แก่ การสำลักอาเจียนเข้าไปในปอด(สุปาณี เสนาดิสัย,2547:หน้า692)5.ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ และไอเอาเสมหะออกมา ระวังอย่าให้ผู้ป่วยสำลัก อาเจียนเข้าไปในปอดเนื่องจากการผ่าตัดทำให้เกิดการอุดตันของหลอดลมในบางส่วนของปวดเกิดปอดแฟบ และหายใจลึกๆ จะช่วยทำให้เกิดอาการไอซึ่งจะช่วยให้ปอดขยายได้เต็มที่ และการไอจะช่วยกำจัดเสมหะที่มีอยู่ เพื่อป้องกันการอุดตันในหลอดลมได้(สุปาณี เสนาดิสัย,2547:หน้า681)6.กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวหลังการผ่าตัดโดยเร็ว ให้ผู้ป่วยได้ออกกำลังแขน ขาหลังผ่าตัด ได้แก่ ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลไม่ให้นั่งห้อยเท้านานๆเนื่องจากการผ่าตัด อาจทำให้เกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำและมีก้อนเลือดมาเกาะบริเวณนั้นส่งผลไปอุดกั้นการไหลเวียนในหลอดเลือดดำจึงต้องให้ผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวหลังผ่าตัดให้เร็วเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นในหลอดเลือดดำ และไม่ให้นั่งห้อยเท้านานๆ เพราะจะทำให้มีการคั่งของเลือดบริเวณปลายเท้า
7.ยกไม้กั้นเตียงขึ้นเนื่องจากหลังผ่าตัด ผู้ป่วยอาจยังไม่ค่อยรู้สึกตัวดี สลึมสลือ จึงต้องยกไม้กั้นเตียงขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยตกเตียงและเกิดอันตราย(สุปาณี เสนาดิสัย,2547:หน้า696-698)
8.ส่งเสริมการทำงานของ Radivacdrianโดยตรวจดูสายระบายของ Radivac drain ไม่ให้หักพับงอ หรืออุดตัน บีบรีดสายท่อระบายRadivacdrain ทุก 1-2 ชั่วโมง เนื่องจากการใส่ท่อระบายRadivac drain คือการระบายเลือดลสารคัดหลั่ง อาจมีตะกอน หรือลิ่มเลือดมาอุดตันสายทำให้เลือดและสายคัดหลั่งระบายออกมาไม่ได้การตรวจดูสายจะช่วยป้องกันไม่ให้ตะกอนหรือลิ่มเลือดมาอุดกั้นสายตรวจดูขวด Radivac drain หากเต็มให้เปลี่ยนขวดโดยยึดหลักปราศจากเชื้อ และclampสายท่อระบายทุกครั้ง เพื่อป้องกันการติดเชื้อและการของเลือดและสารคัดหลั่งขณะเปลี่ยนขวดดูแลให้ขวด Radivac drain เป็นสูญญากาศอยู่เสมอโดยดูที่ฝาขวดหากเป็นสูญญากาศฝาจะหด ถ้าไม่เป็นสูญญากาศฝาจะขยายตัวออก เนื่องจากเครื่อง Radivac drainไม่เป็นสูญญากาศจะไม่สามารถดูดเลือดและสารคัดหลั่งออกได้จัดวางขวด Radivac drain ให้อยู่ในระดับต่ำกว่าแผล เพื่อป้องกันการไหลย้อนกลับของเลือดและสารคัดหลั่ง แนะนำไม่ให้ผู้ป่วยออกแรงมากในข้างที่ใส่ Radivac drain ได้แก่ไม่ใช้แขนข้างที่ใส่ท่อ Radivac drainลากหรือดึงของหนักเพื่อป้องกันการหลุดของRadivac drain(ลินจง จันทร์พุฒ:หน้า 60-69)

9.ถ้าผู้ป่วยบ่นปวดมากให้ยา Morphin 3 mg ทางหลอดเลือดดำทุก 6 ชั่วโมง ตามแผนการรักษาของแพทย์
เนื่องจาก หากผู้ป่วยมีอาการปวดแผลมากอาจทำให้เกิดอาการกระสับกระส่ายและอาจเกิดภาวะช็อค จึงต้องให้ยา Morphin 3 mg ทางหลอดเลือดดำทุก 6 ชั่วโมง ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อบรรเทาอาการปวด และป้องกันอาการกระสับกระส่ายและการเกิดภาวะช็อคจากการปวดมากๆ
10.สังเกตอาการข้างเคียงของยา Morphin 3 mg หากมีอากรข้างเคียง ได้แก่ อาการคลื่นไส้อาเจียน ให้ยา Plasil 10 mg ทุก 8 ชั่วโมง ตามแผนการรักษาของแพทย์
เพื่อบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน(ปราณี ทู้ไพเราะ ,2554)
การประเมินผล
-ผู้ป่วยไม่มีเลือดออกผิดปกติ การหายใจปกติ สามารถไอเอาเสมหะออกมาได้ เคลื่อนไหวร่างกายได้ในวันที่ 2 หลังการผ่าตัด มีอาการคลื่นไส้ แต่ไม่อาเจียน
-Vital sign มีค่าคือ P = 80 ครั้ง/นาที R = 20 ครั้ง/นาที T = 36.8 องศาเซลเซียส BP = 100/70 mmHg
ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติตามแผน
-ผู้ป่วยไม่บ่นปวดมากจึงไม่ได้ให้ยา Morphin 3 mg ทางหลอดเลือดดำทุก 6 ชั่วโมง และ Plasil10 mg ทุก 8 ชั่วโมง ตามแผนการรักษาของแพทย์
การนำผลการประเมินมาปรับปรุง
-หาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับอาการแทรกซ้อนหลังผ่าตัดและอาการแหรกซ้อนจากการดมยาสลบ เพื่อให้การพยาบาลให้ครบและถูกต้อง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The problem 3.Nursing diagnosis, the risk of complications after surgery.The data support O: patient anesthesia type General Anesthesia.O: the patient underwent surgery Modified radical mastectomy.O: after the operation, patients have nausea and vomiting cough with phlegm.The purpose, no complications after surgery.The evaluation criteria.Patients without bleeding. Normal breathing, can make the CIA sputum out effectively. The movement of the body in the first day after the drivers operation.- Vital sign normal P = 60-100 times / minute R = 16-24 times / minute T = 36.4-37.5 degrees Celsius.BP = 90 / 60-120 / 80 mmHg.Nursing activities1.Checke Vital sign before surgery. To compare the symptoms before and after passing the cut.2. After the operation back to Check Vital sign every 15 minutes 4 times. Every 30 minutes 2 times and every 1 hours until Vital sign are within normal range. Surgery is due to blood loss. Due to abnormal blood flow slow pulse and the inhalation anesthetic GA which is able to press the breathing after surgery, patients may have shortness of breath. Or use the muscle can help breathing must CheckVital sign often because it allows the detected abnormalities ของระบบไหลเวียนเลือด. And breathing (สุปาณี. The Minister of this college 2547: face, 692-698).3. Observe the appearance of skin, pale, dry up, hot or cold, and level of consciousness of patients to see the wound that blood or alien ooze out of line. Radivac drain to bottle it observe bleeding within the bottle if more than 200 cc. An hour to Clamp line ไว้หา found to report doctors to observe the hemorrhage and the blood and body fluid exposure to flow a lot wrong which may be harmful to the patient in shock from blood loss (Linchong. The moon put: page 60-69).4.Observe complications from inhalation anesthetic nausea and vomiting to prepare a bowl shaped kidney on or near the patient bedside Patient management and make phlegm out effectively, because the smell when unconscious type General Anesthesis will power press work of circulation and respiration When the patient feel may cause nausea, vomiting, shortness of breath, phlegm and saliva, thus to Observe very closely to prevent complications.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: