บทคัดย่อชื่อวิจัย พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่2  การแปล - บทคัดย่อชื่อวิจัย พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่2  อังกฤษ วิธีการพูด

บทคัดย่อชื่อวิจัย พฤติกรรมการดูแลตน

บทคัดย่อ

ชื่อวิจัย พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโนนรัง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
ผู้วิจัย นางจันทวาส โคตรชุม และ นางสาวปานทิพย์ พึ่งไท
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโนนรัง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
บทคัดย่อ
ปัจจุบันประเทศไทยมีอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อลดลง อัตราอุบัติการณ์ของโรคไม่ติดเชื้อและโรคเรื้อรังเพิ่มสูงขึ้น โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังโรคหนึ่งที่มีแนวโน้มอัตราความชุกเพิ่มขึ้นทุกปี สาเหตุส่วนใหญ่เนื่องมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ไม่ส่งเสริมสุขภาพ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโนนรัง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น และศึกษา ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการดูแลตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโนนรัง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดยศึกษาเชิงสำรวจแบบตัดขวาง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ จากขนาดตัวอย่างจำนวน 38 คน และสัมภาษณ์ทั้งหมดผู้สูงอายุโรคเบาหวาน ได้แบบสัมภาษณ์ทั้งหมด 38 ฉบับ คิดเห็นร้อยละ100 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS for window สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ผลการวิจัย พบว่า พฤติกรรมการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อยู่ในระดับพอใช้ ด้านความสัมพันธ์ของข้อมูลพื้นฐานพบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมระดับน้ำตาในเลือดของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน เพศหญิงมากกว่าเพศชาย 28(73.7) : 10(26.3) อายุ 61-79 ปี (DTxเฉลี่ย 180 mg%) ระดับการศึกษา ต่ำกว่ามัธยมร้อยละ100 อาชีพเกษตรกรร้อยละ100 ระยะเวลาป่วยมากกว่า 5 ปี นอกจากนี้ ยังพบว่าพฤติกรรมการบริโภคอาหารอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ73.7 พฤติกรรมการออกกำลังกายอยู่ในระดับต่ำร้อยละ97.4 พฤติกรรมการทำความสะอาดร่างกายและเท้าอยู่ในระดับต่ำร้อยละ71.1 พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพจิตอยู่ในระดับต่ำร้อยละ76.3 พฤติกรรมการใช้ยาอยู่ในระดับต่ำร้อยละ68.4
ข้อเสนอแนะในการวิจัย พบว่า การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อนของโรคเบาหวานจะเป็นปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งนักสาธารณสุขทุกระดับ ควรให้ความสำคัญโดยเน้นกลวิธีทางสุขศึกษาหลายๆ รูปแบบ เช่น การประชุมอบรม การชมสไลด์ วิดิทัศน์ เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ มีความตระหนัก เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งการให้ความรู้แก่บุคคลในครอบครัวได้แก่ สามีภรรยา ผู้ดูแลผู้ป่วย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน การจัดตั้งชมรมผู้ป่วยโรคเบาหวานขึ้นในหมู่บ้าน เป็นต้น จะมีส่วนช่วยสนับสนุนให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ หรือใกล้เคียงปกติได้
การนำผลการวิจัยไปใช้
1.โครงการ3พลังร่วมปรับพฤติกรรมเปลี่ยนสุขภาพผู้สูงอายุโรคเบาหวาน
2.โครงการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง"บริการในบ้าน สานสายใย
ชุมชน"
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
AbstractThe name research Self care behaviors of elderly diabetes type 2 Who cannot control blood sugar levels. Health promotion in the hospital district, amphur Muang, Khon Kaen province, ban non rang.Vice President for research Mrs. thip Chanthawat and community depend on descent, Ms. Tai Pan. Hospital health promotion ban Muang, Khon Kaen province, non ...Abstract ปัจจุบันประเทศไทยมีอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อลดลง อัตราอุบัติการณ์ของโรคไม่ติดเชื้อและโรคเรื้อรังเพิ่มสูงขึ้น โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังโรคหนึ่งที่มีแนวโน้มอัตราความชุกเพิ่มขึ้นทุกปี สาเหตุส่วนใหญ่เนื่องมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ไม่ส่งเสริมสุขภาพ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโนนรัง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น และศึกษา ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการดูแลตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโนนรัง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดยศึกษาเชิงสำรวจแบบตัดขวาง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ จากขนาดตัวอย่างจำนวน 38 คน และสัมภาษณ์ทั้งหมดผู้สูงอายุโรคเบาหวาน ได้แบบสัมภาษณ์ทั้งหมด 38 ฉบับ คิดเห็นร้อยละ100 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS for window สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ผลการวิจัย พบว่า พฤติกรรมการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อยู่ในระดับพอใช้ ด้านความสัมพันธ์ของข้อมูลพื้นฐานพบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมระดับน้ำตาในเลือดของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน เพศหญิงมากกว่าเพศชาย 28(73.7) : 10(26.3) อายุ 61-79 ปี (DTxเฉลี่ย 180 mg%) ระดับการศึกษา ต่ำกว่ามัธยมร้อยละ100 อาชีพเกษตรกรร้อยละ100 ระยะเวลาป่วยมากกว่า 5 ปี นอกจากนี้ ยังพบว่าพฤติกรรมการบริโภคอาหารอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ73.7 พฤติกรรมการออกกำลังกายอยู่ในระดับต่ำร้อยละ97.4 พฤติกรรมการทำความสะอาดร่างกายและเท้าอยู่ในระดับต่ำร้อยละ71.1 พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพจิตอยู่ในระดับต่ำร้อยละ76.3 พฤติกรรมการใช้ยาอยู่ในระดับต่ำร้อยละ68.4 ข้อเสนอแนะในการวิจัย พบว่า การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อนของโรคเบาหวานจะเป็นปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งนักสาธารณสุขทุกระดับ ควรให้ความสำคัญโดยเน้นกลวิธีทางสุขศึกษาหลายๆ รูปแบบ เช่น การประชุมอบรม การชมสไลด์ วิดิทัศน์ เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ มีความตระหนัก เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งการให้ความรู้แก่บุคคลในครอบครัวได้แก่ สามีภรรยา ผู้ดูแลผู้ป่วย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน การจัดตั้งชมรมผู้ป่วยโรคเบาหวานขึ้นในหมู่บ้าน เป็นต้น จะมีส่วนช่วยสนับสนุนให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ หรือใกล้เคียงปกติได้ Applying research results to1. Common behavioral modification changes the power 3 project healthy elderly diabetes.2. arrange proactive health promotion project in a group of patients with chronic disease, "home-spun fibre cable service. The community, "he said.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Abstract Research Title Self-care behaviors of older adults with type 2 diabetes. Who can not control blood sugar levels. Health Promotion in Hospitals Non Rang District, Khon Kaen , the researcher Mrs. Chan Chan and Ms. PANTHIP Tawa's contemporaries. Reliance Times Hospitals Ban Non Rang Muang, Khon Abstract At present, the rate of infectious diseases dropped. The incidence rate of the disease is not infectious and chronic diseases increase. Diabetes is a chronic disease that is likely prevalence is increasing every year. Mainly due to inappropriate behavior. No health promotion This research aims to study the care of the elderly Type 2 diabetes who can not control blood sugar levels. Health Promotion in Hospitals Non Rang Muang Khon Kaen and study the problems and suggestions for self-care of the elderly Type 2 diabetes who can not control blood sugar levels. Health Promotion in Hospitals Non Rang District, Khon Kaen. The study was a cross-sectional survey. Data were collected by interview The sample size of 38 participants and interview elderly diabetes. To interview all 38 reviews No. 100 percent. Data were analyzed using SPSS for window statistics used in the analysis were percentage, mean results showed that glycemic control behavior of the elderly Type 2 diabetes is fair. Relationship of baseline, sex, age, education, occupation, no relation to the control behavior of the tear in the blood of older adults with diabetes. Female than male, 28 (73.7) 10 (26.3), aged 61-79 years (DTx average 180 mg%) level of education. Less than 100 percent of high school Farmers 100 percent Patients over a 5-year period, also found that dietary habits are moderate, 73.7 percent. Exercise behavior is low 97.4 percent. Behavior to cleanse the body and feet on the lower level of 71.1 percent. Behavior, mental health is low 76.3 percent. Behavior, drug use is low, 68.4 suggestions in the research found that the perceived risk of complications of diabetes are the factors that affect the blood sugar levels in elderly diabetic. Type 2, which the public at all levels. Should be a priority, with emphasis on health education techniques, such as various forms of training conference slide VDO to the patient's knowledge. Are aware On a complication of diabetes that may occur. As well as to educate people in the family, including spouse caregivers. Volunteer village health clubs, community leaders established diabetics in the village and will help encourage patients to control blood sugar levels in the normal range. Or close to normal as the results of the research are to : 1. 3 power sharing behavior change elderly diabetic 2. Services Health Technologies in patients with chronic disease "in-house service. Fiber weave Community "












การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Abstract

name research. Self care behavior of elderly diabetes type 2. Unable to control blood sugar. In the health promoting hospital ban non nutrients, Khon Kaen
.The researcher, she follows and extremely abundant and MS. pantip just ty
health promoting hospital home non rang, Khon Kaen

. AbstractsAt present, the unemployment rate infection decreased. The incidence rate of infectious disease and chronic diseases increased. Diabetes mellitus is a chronic disease with a tendency of prevalence rate increasing year by year.No health promotion. The purpose of this research is to study the self-care behaviors of the elderly with diabetes mellitus type 2 unable to control blood sugar. In the health promoting hospital ban non nutrients analysis.And the study of the problems in the care of the elderly with type 2 unable to control blood sugar. In the health promoting hospital ban non nutrients, Khon Kaen.Data were collected by interview from the sample size of 38 people. All the elderly diabetes and interview, interview all 38 original opinion was 100 data analysis program, SPSS for Window statistical analysis.Percentage, mean
.The results showed that the behavior to control the blood glucose level of the elderly with type 2 were fair. The relationship of basic information indicated that gender, age, education level, occupation.More female than male 28 (73.7): 10 (26.3) 61-79 years (average age DTx 180 mg%) education, lower school (100 farmers were 100 period more patients 5 years. Furthermore, it was found that food consumption behavior is in moderate level 73.7 exercise behavior in the level 97.4. The behavior body and foot cleaning level 71.1. Mental health promotion behavior in the level 76.3. Behavior using level 68.4
.Suggestions on the research, it was found that perceived risk complications of diabetes is the factors affecting blood sugar control in the elderly with type 2 which leads to public health at all levels.Forms such as the meeting, training, watch slides, video for the patient knowledge and awareness about the complications of diabetes may occur. As well as educating individuals in the family: husband and wife caregivers.Community leaders, the establishment of diabetes among the club house, etc., will help support patients to control blood glucose levels within normal range. Or nearby normal
.Application of research findings. 3
1 project synergy adjust the behavior change elderly diabetes
2. Project organized health promotion services proactive in patients chronic "service in the house. Weave a

. Community. "
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: