ถึงแม้น้ำเต้าหู้อุดมไปด้วยคุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณวิเศษในการป้องก การแปล - ถึงแม้น้ำเต้าหู้อุดมไปด้วยคุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณวิเศษในการป้องก อังกฤษ วิธีการพูด

ถึงแม้น้ำเต้าหู้อุดมไปด้วยคุณค่าทาง

ถึงแม้น้ำเต้าหู้อุดมไปด้วยคุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณวิเศษในการป้องกันและรักษาโรคชนิดต่างๆ แต่เกี่ยวกับการดื่มน้ำเต้าหู้ก็มีสิ่งที่ควรระวังหลายอย่าง

1. น้ำเต้าหู้ต้องต้มให้เดือดจึงจะทานได้ เพราะนำเต้าหู้ดิบมีสารพิษทำให้การย่อยและสลายตัวของสารโปรตีนเกิดการขัดข้อง และส่งผลต่อระบบย่อยอาหาร จนเกิดอาการต้องพิษ เช่นปวดศรีษะ หายใจลำบากเป็นต้น เมื่อมีอาการเช่นนี้ควรรีบไปรักษาที่โรงพยาบาล แต่หากต้มน้ำเต้าหู้ให้เดือดก่อนทาน ก็จะสามารถขจัดสารพิษดังกล่าวได้

2. ไม่ควรตีไข่เข้าไปในน้ำเต้าหู้ หลายคนคิดว่าเวลาต้มน้ำเต้าหู้นั้นตีไข่ไก่เข้าไปสัก 1 ฟอง จะช่วยเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ ซึ่งเป็นความเข้าใจผิด เนื่องจากเมื่อโปรตีนไข่กับสาร Trypsin ในน้ำเต้าหู้ผสมกันแล้วจะกลายเป็นสารชนิดหนึ่งที่ย่อยยาก ทำให้สูญเสียคุณค่าอาหารดีๆ ทั้งสองอย่าง

3. อย่าชงกับน้ำตาลทรายแดง ถึงแม้น้ำเต้าหู้ที่ใส่น้ำตาลทรายแดงจะเพิ่มความอร่อย แต่สารกรดในน้ำตาลทรายแดงกับโปรตีนในน้ำเต้าหู้เมื่อเผชิญกันแล้วจะทำให้สารอาหารที่เป็นประโยชน์กลายเป็นสารตะกอนที่ไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย

4. อย่าเก็บนาน น้ำเต้าหู้ที่เก็บในภาชนะที่มีอุณหภูมิค่อนข้างสูง เพียง 3-4 ชั่วโมงก็จะบูด

5. อย่าทานน้ำเต้าหู้ทีละมากๆ เพราะระบบย่อยอาหารจะย่อยโปรตีนไม่ทัน ทำให้เกิดอาการท้องอืดหรือท้องเสีย

6. ไม่ควรดื่มน้ำเต้าหู้ตอนท้องว่าง ควรทานกับขนมปัง หมานโถวหรืออาหารแป้งอย่างอื่น ซึ่งจะช่วยให้น้ำย่อยในกระเพาะย่อยและสลายโปรตีนในน้ำเต้าหู้ได้ง่ายขึ้น

7. เวลาทานยาไม่ควรทานกับน้ำเต้าหู้ โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะ

ผู้ที่ไม่เหมาะกับการทานน้ำเต้าหู้

1. ผู้ป่วยโรคกระเพาะทานน้ำเต้าหู้แล้วจะกระตุ้นการหลั่งน้ำย่อย ทำให้อาการท้องอืดหนักขึ้น

2. ผู้ป่วยโรคไตต้องการทานอาหารที่มีโปรตีนต่ำ แต่น้ำเต้าหู้มีโปรตีนสูง จะเพิ่มภาระให้กับไต

3. สาร Oxalic acid salt ในถั่วเหลืองกับแคลเซียมในไตผสมกันแล้วอาจจะกลายเป็นนิ่ว เพราะฉะนั้น ผู้ที่เป็นนิ่วในไตก็ไม่ควรทานน้ำเต้าหู้

4. สาร Purine เป็นต้นเหตุสำคัญของโรคเก๊าท์ ถั่วเหลืองอุดมไปด้วยสาร Purine เมื่อทำเป็นน้ำเต้าหู้แล้ว สาร Purine ที่ละลายน้ำจะเพิ่มขึ้นเป็นหลายเท่า จึงไม่เหมาะกับผู้เป็นโรคเก๊าท์

อย่างไรก็ตาม ถึงแม้น้ำเต้าหู้เป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง แต่ก็ใช่ว่าจะเหมาะกับทุกคน สำหรับผู้ที่สุขภาพแข็งแรงไม่มีโรค ดื่มน้ำเต้าหู้วันละ 1-2 ครั้ง ครั้งละ 250-350 มิลลิลิตร จะมีส่วนช่วยบำรุงสุขภาพและเพิ่มพลังงานให้กับร่างกาย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ถึงแม้น้ำเต้าหู้อุดมไปด้วยคุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณวิเศษในการป้องกันและรักษาโรคชนิดต่างๆ แต่เกี่ยวกับการดื่มน้ำเต้าหู้ก็มีสิ่งที่ควรระวังหลายอย่าง

1. น้ำเต้าหู้ต้องต้มให้เดือดจึงจะทานได้ เพราะนำเต้าหู้ดิบมีสารพิษทำให้การย่อยและสลายตัวของสารโปรตีนเกิดการขัดข้อง และส่งผลต่อระบบย่อยอาหาร จนเกิดอาการต้องพิษ เช่นปวดศรีษะ หายใจลำบากเป็นต้น เมื่อมีอาการเช่นนี้ควรรีบไปรักษาที่โรงพยาบาล แต่หากต้มน้ำเต้าหู้ให้เดือดก่อนทาน ก็จะสามารถขจัดสารพิษดังกล่าวได้

2. ไม่ควรตีไข่เข้าไปในน้ำเต้าหู้ หลายคนคิดว่าเวลาต้มน้ำเต้าหู้นั้นตีไข่ไก่เข้าไปสัก 1 ฟอง จะช่วยเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ ซึ่งเป็นความเข้าใจผิด เนื่องจากเมื่อโปรตีนไข่กับสาร Trypsin ในน้ำเต้าหู้ผสมกันแล้วจะกลายเป็นสารชนิดหนึ่งที่ย่อยยาก ทำให้สูญเสียคุณค่าอาหารดีๆ ทั้งสองอย่าง

3. อย่าชงกับน้ำตาลทรายแดง ถึงแม้น้ำเต้าหู้ที่ใส่น้ำตาลทรายแดงจะเพิ่มความอร่อย แต่สารกรดในน้ำตาลทรายแดงกับโปรตีนในน้ำเต้าหู้เมื่อเผชิญกันแล้วจะทำให้สารอาหารที่เป็นประโยชน์กลายเป็นสารตะกอนที่ไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย

4. อย่าเก็บนาน น้ำเต้าหู้ที่เก็บในภาชนะที่มีอุณหภูมิค่อนข้างสูง เพียง 3-4 ชั่วโมงก็จะบูด

5. อย่าทานน้ำเต้าหู้ทีละมากๆ เพราะระบบย่อยอาหารจะย่อยโปรตีนไม่ทัน ทำให้เกิดอาการท้องอืดหรือท้องเสีย

6. ไม่ควรดื่มน้ำเต้าหู้ตอนท้องว่าง ควรทานกับขนมปัง หมานโถวหรืออาหารแป้งอย่างอื่น ซึ่งจะช่วยให้น้ำย่อยในกระเพาะย่อยและสลายโปรตีนในน้ำเต้าหู้ได้ง่ายขึ้น

7. เวลาทานยาไม่ควรทานกับน้ำเต้าหู้ โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะ

ผู้ที่ไม่เหมาะกับการทานน้ำเต้าหู้

1. ผู้ป่วยโรคกระเพาะทานน้ำเต้าหู้แล้วจะกระตุ้นการหลั่งน้ำย่อย ทำให้อาการท้องอืดหนักขึ้น

2. ผู้ป่วยโรคไตต้องการทานอาหารที่มีโปรตีนต่ำ แต่น้ำเต้าหู้มีโปรตีนสูง จะเพิ่มภาระให้กับไต

3. สาร Oxalic acid salt ในถั่วเหลืองกับแคลเซียมในไตผสมกันแล้วอาจจะกลายเป็นนิ่ว เพราะฉะนั้น ผู้ที่เป็นนิ่วในไตก็ไม่ควรทานน้ำเต้าหู้

4. สาร Purine เป็นต้นเหตุสำคัญของโรคเก๊าท์ ถั่วเหลืองอุดมไปด้วยสาร Purine เมื่อทำเป็นน้ำเต้าหู้แล้ว สาร Purine ที่ละลายน้ำจะเพิ่มขึ้นเป็นหลายเท่า จึงไม่เหมาะกับผู้เป็นโรคเก๊าท์

อย่างไรก็ตาม ถึงแม้น้ำเต้าหู้เป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง แต่ก็ใช่ว่าจะเหมาะกับทุกคน สำหรับผู้ที่สุขภาพแข็งแรงไม่มีโรค ดื่มน้ำเต้าหู้วันละ 1-2 ครั้ง ครั้งละ 250-350 มิลลิลิตร จะมีส่วนช่วยบำรุงสุขภาพและเพิ่มพลังงานให้กับร่างกาย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ถึงแม้น้ำเต้าหู้อุดมไปด้วยคุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณวิเศษในการป้องกันและรักษาโรคชนิดต่างๆ แต่เกี่ยวกับการดื่มน้ำเต้าหู้ก็มีสิ่งที่ควรระวังหลายอย่าง

1. น้ำเต้าหู้ต้องต้มให้เดือดจึงจะทานได้ เพราะนำเต้าหู้ดิบมีสารพิษทำให้การย่อยและสลายตัวของสารโปรตีนเกิดการขัดข้อง และส่งผลต่อระบบย่อยอาหาร จนเกิดอาการต้องพิษ เช่นปวดศรีษะ หายใจลำบากเป็นต้น เมื่อมีอาการเช่นนี้ควรรีบไปรักษาที่โรงพยาบาล แต่หากต้มน้ำเต้าหู้ให้เดือดก่อนทาน ก็จะสามารถขจัดสารพิษดังกล่าวได้

2. ไม่ควรตีไข่เข้าไปในน้ำเต้าหู้ หลายคนคิดว่าเวลาต้มน้ำเต้าหู้นั้นตีไข่ไก่เข้าไปสัก 1 ฟอง จะช่วยเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ ซึ่งเป็นความเข้าใจผิด เนื่องจากเมื่อโปรตีนไข่กับสาร Trypsin ในน้ำเต้าหู้ผสมกันแล้วจะกลายเป็นสารชนิดหนึ่งที่ย่อยยาก ทำให้สูญเสียคุณค่าอาหารดีๆ ทั้งสองอย่าง

3. อย่าชงกับน้ำตาลทรายแดง ถึงแม้น้ำเต้าหู้ที่ใส่น้ำตาลทรายแดงจะเพิ่มความอร่อย แต่สารกรดในน้ำตาลทรายแดงกับโปรตีนในน้ำเต้าหู้เมื่อเผชิญกันแล้วจะทำให้สารอาหารที่เป็นประโยชน์กลายเป็นสารตะกอนที่ไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย

4. อย่าเก็บนาน น้ำเต้าหู้ที่เก็บในภาชนะที่มีอุณหภูมิค่อนข้างสูง เพียง 3-4 ชั่วโมงก็จะบูด

5. อย่าทานน้ำเต้าหู้ทีละมากๆ เพราะระบบย่อยอาหารจะย่อยโปรตีนไม่ทัน ทำให้เกิดอาการท้องอืดหรือท้องเสีย

6. ไม่ควรดื่มน้ำเต้าหู้ตอนท้องว่าง ควรทานกับขนมปัง หมานโถวหรืออาหารแป้งอย่างอื่น ซึ่งจะช่วยให้น้ำย่อยในกระเพาะย่อยและสลายโปรตีนในน้ำเต้าหู้ได้ง่ายขึ้น

7. เวลาทานยาไม่ควรทานกับน้ำเต้าหู้ โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะ

ผู้ที่ไม่เหมาะกับการทานน้ำเต้าหู้

1. ผู้ป่วยโรคกระเพาะทานน้ำเต้าหู้แล้วจะกระตุ้นการหลั่งน้ำย่อย ทำให้อาการท้องอืดหนักขึ้น

2. ผู้ป่วยโรคไตต้องการทานอาหารที่มีโปรตีนต่ำ แต่น้ำเต้าหู้มีโปรตีนสูง จะเพิ่มภาระให้กับไต

3. สาร Oxalic acid salt ในถั่วเหลืองกับแคลเซียมในไตผสมกันแล้วอาจจะกลายเป็นนิ่ว เพราะฉะนั้น ผู้ที่เป็นนิ่วในไตก็ไม่ควรทานน้ำเต้าหู้

4. สาร Purine เป็นต้นเหตุสำคัญของโรคเก๊าท์ ถั่วเหลืองอุดมไปด้วยสาร Purine เมื่อทำเป็นน้ำเต้าหู้แล้ว สาร Purine ที่ละลายน้ำจะเพิ่มขึ้นเป็นหลายเท่า จึงไม่เหมาะกับผู้เป็นโรคเก๊าท์

อย่างไรก็ตาม ถึงแม้น้ำเต้าหู้เป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง แต่ก็ใช่ว่าจะเหมาะกับทุกคน สำหรับผู้ที่สุขภาพแข็งแรงไม่มีโรค ดื่มน้ำเต้าหู้วันละ 1-2 ครั้ง ครั้งละ 250-350 มิลลิลิตร จะมีส่วนช่วยบำรุงสุขภาพและเพิ่มพลังงานให้กับร่างกาย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Although soybean milk rich in nutritional value and properties of magic in the prevention and treatment of various kind. But about drinking soybean milk is something that should be a

1.Soybean milk, boiled, it will eat. Because the raw tofu is toxic to digestion and decomposition of protein failure and affect the digestive system and symptoms, such as pain to poison the head. Dyspnea, etc.But if the boiled soybean milk to boil before eating. It can eliminate toxins such
.
2.Don't beat the eggs into the soybean milk. Many people think that when boiled soybean milk that beat the eggs into a 1 bubbles. To increase the nutritional value, which is misleading, because when the egg proteins with substance Trypsin.Lose the value of good food, both
.
3.Don't made with brown sugar. Although soybean milk that brown sugar to enhance the taste
4. Don't keep for a long time, the soybean milk stored in containers with a relatively high temperatures, only 3-4 hours will be spoiled,
5
. Don't eat the soybean milk by very much. Because the digestive system to digest protein in time. Cause bloating or diarrhea

6.Should not drink Soybean Milk on an empty stomach should be eaten with bread. Man Tou or starch food otherwise. Which will help in the stomach to digest and sub water protein metabolism in soybean milk easier 7,

. A drug should not be eaten with soy milk, especially antibiotics

.Who is not suitable to the soybean milk

1.? Patients with gastritis eat soy milk will then stimulate the secretion of the gastric juice. The flatulence harder

2.Dialysis patients want to dine with low protein and soybean milk protein will increase the burden on the kidneys 3

.Oxalic acid salt substance in soybean with calcium renal stone mixture may become so, who is the kidney stones should not eat soy milk

4.Purine substances cause of gout, soybean rich in substance Purine when made soybean milk. Purine substances dissolved increased many folds. It doesn't suit the gout

.However, even though the soybean milk is a food with high nutritional value. But not to suit everyone. For who is healthy, no disease. Drink Soybean milk a day 1-2 time 250-350 ml
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: