ประเทศไทยมีวัฒนธรรมของตนเอง ซึ่งเกิดจากการสั่งสม สืบทอด ปรับปรนและพัฒน การแปล - ประเทศไทยมีวัฒนธรรมของตนเอง ซึ่งเกิดจากการสั่งสม สืบทอด ปรับปรนและพัฒน อังกฤษ วิธีการพูด

ประเทศไทยมีวัฒนธรรมของตนเอง ซึ่งเกิ

ประเทศไทยมีวัฒนธรรมของตนเอง ซึ่งเกิดจากการสั่งสม สืบทอด ปรับปรนและพัฒนาต่อเนื่องกันมานานนับพันปี และเป็นสมาชิกของสังคมโลก ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และความตึงเครียดของบรรยากาศทางการเมืองและเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน ส่งผลให้สังคมโลกแตกเป็นหลายขั้ว งานวัฒนธรรมจึงถูกใช้เป็นเครื่องมือของการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมากขึ้น เพราะไม่ก่อให้เกิดปัญหาตามมา เนื่องจากเป็นการยอมรับด้วยความสมัครใจและเต็มใจ

อย่างไรก็ตาม หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศไทยไม่ให้ความสำคัญหรือตระหนักในศักยภาพของวัฒนธรรมอย่างแท้จริง และมักจะมองเพียงผลประโยชน์ระยะสั้นมากกว่าที่จะเห็นว่าเป็นผลประโยชน์ระยะยาว ในส่วนที่เกี่ยวกับผู้ปฏิบัติงานในฐานะทูตวัฒนธรรมของไทย ก็มักจะโยงเรื่องวัฒนธรรมกับปัญหาทางการเมืองระหว่างประเทศเป็นสำคัญ จึงทำให้การดำเนินการ มีอุปสรรคและปัญหามาก ส่วนใหญ่จะเป็นกิจกรรมอาสาสมัคร ซึ่งชาวไทยหรือชาวต่างประเทศที่รักและผูกพันกับประเทศไทย ดำเนินการกันเอง แต่การดำเนินงานเชิงรุกทางวัฒนธรรมของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องคือ กระทรวงการต่างประเทศและหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กรมศิลปากร กรมการศาสนา ฯลฯ ยังคงไม่ปรากฏผลอย่างเด่นชัดเท่าที่ควร แต่ถ้าสังเกตการดำเนินงานทางวัฒนธรรม ของหน่วยงานในสังกัดหรือเกี่ยวข้องกับสถานเอกอัครราชทูตต่างประเทศที่อยู่ในประเทศไทย จะเห็นว่า หลายประเทศกำลังใช้แผนเชิงรุก และสามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ เนื้อหาของกิจกรรมทางวัฒนธรรมก็ขยายขอบเขตกว้างขวาง ครอบคลุมทั้งด้านศิลปะ บันเทิง ภาษา วรรณกรรม เทคโนโลยี การศึกษา ฯลฯ บางประเทศ ได้แยกงานวัฒนธรรมออกมาจากงานด้านอื่น ๆ อย่างเด่นชัด และได้ให้ความสำคัญกับการคัดเลือกเจ้าหน้าที่หรือคณะทำงาน ที่เชี่ยวชาญ สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี ปรับใช้สถานการณ์ได้ทันท่วงที การแต่งตั้งบุคคลในตำแหน่งทูตวัฒนธรรมมักคำนึงถึงความเหมาะสมหลายประการ

การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับบทบาทของทูตวัฒนธรรมต่างประเทศในประเทศไทย ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่เคยทำการวิจัยมาก่อน จะทำให้กระทรวงการต่างประเทศของไทยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีข้อมูลที่จะใช้เป็นพื้นฐาน สำหรับวางนโยบายการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศได้อย่างรอบคอบมากขึ้น

วัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ (1). ศึกษาบทบาทของทูตวัฒนธรรมต่างประเทศที่ปฏิบัติหน้าที่ประจำอยู่ในประเทศไทย : กรณีศึกษา 10 ประเทศ คือ ญี่ปุ่น จีน อินโดนีเซีย สหรัฐอเมริกา อังกฤษ สวีเดน เยอรมัน ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ และ(2) ศึกษาแนวทางการเนินงานทูตวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ

แบบแผนของงานวิจัย ได้แก่ การวิจัยเชิงพรรณา (Descriptive Research) โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม กลุ่มแรก สำหรับการศึกษาบทบาทของทูตวัฒนธรรมต่างประเทศในประเทศไทยในระหว่างเดือน ตุลาคม 2543 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2544 ซึ่งได้จากการสุ่มแบบเจาะจงประเทศละอย่างน้อย 1 คน ที่เต็มใจให้สัมภาษณ์ รวม ๑๐ ประเทศ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ เยอร์มัน สวีเดน สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อังกฤษ และอินโดนีเซีย กลุ่มที่สอง สำหรับการระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการแนวทางการดำเนินงานทูตวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ คือผู้ทรงคุณวุฒิด้านวัฒนธรรมไทย หรือทรงคุณวุฒิทางการทูต และมีความสนใจที่จะให้ความคิดเห็นในเชิงวิชาการ จำนวนทั้งสิ้น ๑๒ ท่าน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง

วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การสัมภาษณ์ทูตวัฒนธรรมต่างประเทศที่เป็นกรณีศึกษาหรือผู้เกี่ยวข้อง ในส่วนที่เกี่ยวกับบทบาทของทูตวัฒนธรรมต่างประเทศในประเทศไทย และการประชุมระดมความคิดผู้ทรงคุณวุฒิทางวัฒนธรรมและทางการทูต แบบ Focus Group

Discussion เกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานทูตวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ

นิยามศัพท์เฉพาะเพื่อการปฏิบัติการวิจัย คือ

๑. ทูตวัฒนธรรม หมายถึง เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากรัฐ ให้รับผิดชอบการดำเนินงานทูตวัฒนธรรมในต่างประเทศ เจ้าหน้าที่ดังกล่าวอาจจะเป็นข้าราชการของรัฐหรือไม่ก็ได้ และจะมีสถานภาพทางการทูตหรือไม่ก็ได้ แต่จะสังกัดอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศโดยตรง หรืออยู่ในการกำกับดูแลของกระทรวงการต่างประเทศ

๒. งานทูตวัฒนธรรม หมายถึง ภารกิจและกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งทูตวัฒนธรรมปฏิบัติอยู่ในต่างประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่จะรวมถึงงานที่เกี่ยวกับการศึกษา ภาษา ศาสนา

ศิลปะขนบธรรมเนียมประเพณี การประชาสัมพันธ์ ตลอดจนการรวบรวมและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม และการเป็นผู้แทนทางวัฒนธรรมของประเทศ

๓. บทบาทูตวัฒนธรรมต่างประเทศในประเทศไทย หมายถึง ภารกิจหลักที่ทูตวัฒนธรรมต่างประเทศในประเทศไทย ได้รับมอบหมาย รวมทั้งยุทธศาสตร์การจัดการเพื่อให้ภารกิจดังกล่าวบรรลุผลสำเร็จ

๑.๑ ภารกิจหลักของทูตวัฒนธรรม เช่น การเผยแพร่วัฒนธรรมในต่างประเทศ การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับต่างประเทศ การเป็นผู้แทนทางวัฒนธรรมของประเทศ การรวบรวมข่าวสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องและแก้ไขภาพลักษณ์ของประเทศ เป็นต้น

๑.๒ ยุทธศาสตร์การจัดการเพื่อให้ภารกิจบรรลุผลสำเร็จ เช่น การจัดโครงสร้างองค์กรที่มีประสิทธิภาพ การคัดเลือกทูตวัฒนธรรมที่มีคุณสมบัติเฉพาะ การจัดกิจกรรมเชิงรุกทางวัฒนธรรม การร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรมและทางสังคมกับประเทศเจ้าบ้านอย่างใกล้ชิด เป็นต้น

๒. แนวทางการดำเนินงานทูตวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ หมายถึง สิ่งที่ผู้ทรงคุณวุฒิในการวิจัยครั้งนี้ มีความเห็นพ้องกันเป็นเอกฉันท์ว่าสมควรนำมาเป็นแนวนโยบายในการดำเนินงานทูตวัฒนธรรมของประเทศไทย ได้แก่

๒.๑ ความจำเป็นของการมีทูตวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ เช่น ระดับความจำเป็น มาก ปานกลาง น้อย และเหตุผลที่จำเป็นหรือไม่จำเป็นต้องมีทูตวัฒนธรรม

๒.๒ รูปแบบที่พึงประสงค์ในการดำเนินงานทูตวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ เช่น รูปแบบที่ดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศ รูปแบบที่ดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่ของกระทรวงที่เกี่ยวข้องแต่ขึ้นต่อเอกอัครราชทูตหรืออัครราชทูตไทยในต่างประเทศ รูปแบบการดำเนินงานโดยศูนย์วัฒนธรรมไทยใน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The country has its own culture, Thai, which is caused by inheritance of experience. Adjust to extend and develop its long millennia and is a member of the world community, which is changing rapidly, and the tension of the political environment and the global economy today. As a result, the world is multipolar society. Culture has been used as a tool of international relations, more. Because it does not cause a problem because it is the subsequent adoption by the voluntary and willing. อย่างไรก็ตาม หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศไทยไม่ให้ความสำคัญหรือตระหนักในศักยภาพของวัฒนธรรมอย่างแท้จริง และมักจะมองเพียงผลประโยชน์ระยะสั้นมากกว่าที่จะเห็นว่าเป็นผลประโยชน์ระยะยาว ในส่วนที่เกี่ยวกับผู้ปฏิบัติงานในฐานะทูตวัฒนธรรมของไทย ก็มักจะโยงเรื่องวัฒนธรรมกับปัญหาทางการเมืองระหว่างประเทศเป็นสำคัญ จึงทำให้การดำเนินการ มีอุปสรรคและปัญหามาก ส่วนใหญ่จะเป็นกิจกรรมอาสาสมัคร ซึ่งชาวไทยหรือชาวต่างประเทศที่รักและผูกพันกับประเทศไทย ดำเนินการกันเอง แต่การดำเนินงานเชิงรุกทางวัฒนธรรมของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องคือ กระทรวงการต่างประเทศและหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กรมศิลปากร กรมการศาสนา ฯลฯ ยังคงไม่ปรากฏผลอย่างเด่นชัดเท่าที่ควร แต่ถ้าสังเกตการดำเนินงานทางวัฒนธรรม ของหน่วยงานในสังกัดหรือเกี่ยวข้องกับสถานเอกอัครราชทูตต่างประเทศที่อยู่ในประเทศไทย จะเห็นว่า หลายประเทศกำลังใช้แผนเชิงรุก และสามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ เนื้อหาของกิจกรรมทางวัฒนธรรมก็ขยายขอบเขตกว้างขวาง ครอบคลุมทั้งด้านศิลปะ บันเทิง ภาษา วรรณกรรม เทคโนโลยี การศึกษา ฯลฯ บางประเทศ ได้แยกงานวัฒนธรรมออกมาจากงานด้านอื่น ๆ อย่างเด่นชัด และได้ให้ความสำคัญกับการคัดเลือกเจ้าหน้าที่หรือคณะทำงาน ที่เชี่ยวชาญ สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี ปรับใช้สถานการณ์ได้ทันท่วงที การแต่งตั้งบุคคลในตำแหน่งทูตวัฒนธรรมมักคำนึงถึงความเหมาะสมหลายประการ Studies on the role of diplomats of foreign culture in the country, Thai. This is a story that has never been done before, the research. To make the Thai Foreign Ministry and related agencies. There is information that will be used as the basis for policy exchange and broadcast Thai culture in foreign countries more carefully. The purpose of the research is to study (1). the role of cultural diplomacy abroad duty stationed in 10 countries: a case study of Thai country United States Japan, China, Indonesia, England, Sweden, Germany, New Zealand and Australia and France (2) Study on operation of Thai culture in foreign countries according to the opinions of the Councillors. แบบแผนของงานวิจัย ได้แก่ การวิจัยเชิงพรรณา (Descriptive Research) โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม กลุ่มแรก สำหรับการศึกษาบทบาทของทูตวัฒนธรรมต่างประเทศในประเทศไทยในระหว่างเดือน ตุลาคม 2543 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2544 ซึ่งได้จากการสุ่มแบบเจาะจงประเทศละอย่างน้อย 1 คน ที่เต็มใจให้สัมภาษณ์ รวม ๑๐ ประเทศ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ เยอร์มัน สวีเดน สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อังกฤษ และอินโดนีเซีย กลุ่มที่สอง สำหรับการระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการแนวทางการดำเนินงานทูตวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ คือผู้ทรงคุณวุฒิด้านวัฒนธรรมไทย หรือทรงคุณวุฒิทางการทูต และมีความสนใจที่จะให้ความคิดเห็นในเชิงวิชาการ จำนวนทั้งสิ้น ๑๒ ท่าน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง The data collection method is the Embassy of the foreign culture interview as a case study, or those involved. In the section concerning the role of culture in the foreign diplomats and Thai experts brainstorm meetings, cultural and diplomatic a Focus Group.Discussion about the guidelines for the operation of Thai culture in foreign countries. Specific terms to conduct research: 1. Cultural diplomacy refers to the officer assigned by the State, is responsible for the operations of a foreign culture. Such officers may be a civil servant of the State, and will have a diplomatic status or not, but it is in the Ministry of Foreign Affairs, either directly or in the supervision of the Ministry of Foreign Affairs. 2. cultural diplomacy work refers to the tasks and activities in which foreign diplomats are operating culture. Most of which will include work on language education, religion. Assimilated art public relations, as well as to collect and exchange information about the culture and the country's cultural representative. 3. Embassy of the foreign culture articles among domestic Thai The primary mission of culture refers to foreign diplomats in the country, Thai. Have been assigned, as well as strategies to manage to accomplish these tasks. 1.1 the main task of the police culture, such as the dissemination of culture abroad. The cultural exchange with foreign countries As representatives of the country's cultural To collect the relevant information and edit the image of the country, etc. 1.2 management strategies in order to accomplish tasks like structuring an effective organization. Selection of cultural diplomacy that has unique properties events cultural aggressive. To participate in social and cultural activities with country home closely, etc.2. Guidelines for operation of Thai culture in foreign countries Refer to what the experts in the research. There is a unanimous opinion that the decision taken is the policy in the ambassadors of culture and operations, Thai: 2.1 necessity of having Thai culture envoys abroad, such as very low to medium levels of necessary and why the need or do not need to have a diplomatic culture. 2.2 spam patterns in Thai culture envoys operations in foreign countries, such as the format operation by officers of the Ministry of Foreign Affairs. The format operation by the relevant Ministry officials, but the Thai Ambassador or Ambassador abroad. The format operation by Thai cultural centre in
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเทศไทยมีวัฒนธรรมของตนเอง ซึ่งเกิดจากการสั่งสม สืบทอด ปรับปรนและพัฒนาต่อเนื่องกันมานานนับพันปี และเป็นสมาชิกของสังคมโลก ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และความตึงเครียดของบรรยากาศทางการเมืองและเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน ส่งผลให้สังคมโลกแตกเป็นหลายขั้ว งานวัฒนธรรมจึงถูกใช้เป็นเครื่องมือของการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมากขึ้น เพราะไม่ก่อให้เกิดปัญหาตามมา เนื่องจากเป็นการยอมรับด้วยความสมัครใจและเต็มใจ

อย่างไรก็ตาม หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศไทยไม่ให้ความสำคัญหรือตระหนักในศักยภาพของวัฒนธรรมอย่างแท้จริง และมักจะมองเพียงผลประโยชน์ระยะสั้นมากกว่าที่จะเห็นว่าเป็นผลประโยชน์ระยะยาว ในส่วนที่เกี่ยวกับผู้ปฏิบัติงานในฐานะทูตวัฒนธรรมของไทย ก็มักจะโยงเรื่องวัฒนธรรมกับปัญหาทางการเมืองระหว่างประเทศเป็นสำคัญ จึงทำให้การดำเนินการ มีอุปสรรคและปัญหามาก ส่วนใหญ่จะเป็นกิจกรรมอาสาสมัคร ซึ่งชาวไทยหรือชาวต่างประเทศที่รักและผูกพันกับประเทศไทย ดำเนินการกันเอง แต่การดำเนินงานเชิงรุกทางวัฒนธรรมของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องคือ กระทรวงการต่างประเทศและหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กรมศิลปากร กรมการศาสนา ฯลฯ ยังคงไม่ปรากฏผลอย่างเด่นชัดเท่าที่ควร แต่ถ้าสังเกตการดำเนินงานทางวัฒนธรรม ของหน่วยงานในสังกัดหรือเกี่ยวข้องกับสถานเอกอัครราชทูตต่างประเทศที่อยู่ในประเทศไทย จะเห็นว่า หลายประเทศกำลังใช้แผนเชิงรุก และสามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ เนื้อหาของกิจกรรมทางวัฒนธรรมก็ขยายขอบเขตกว้างขวาง ครอบคลุมทั้งด้านศิลปะ บันเทิง ภาษา วรรณกรรม เทคโนโลยี การศึกษา ฯลฯ บางประเทศ ได้แยกงานวัฒนธรรมออกมาจากงานด้านอื่น ๆ อย่างเด่นชัด และได้ให้ความสำคัญกับการคัดเลือกเจ้าหน้าที่หรือคณะทำงาน ที่เชี่ยวชาญ สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี ปรับใช้สถานการณ์ได้ทันท่วงที การแต่งตั้งบุคคลในตำแหน่งทูตวัฒนธรรมมักคำนึงถึงความเหมาะสมหลายประการ

การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับบทบาทของทูตวัฒนธรรมต่างประเทศในประเทศไทย ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่เคยทำการวิจัยมาก่อน จะทำให้กระทรวงการต่างประเทศของไทยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีข้อมูลที่จะใช้เป็นพื้นฐาน สำหรับวางนโยบายการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศได้อย่างรอบคอบมากขึ้น

วัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ (1). ศึกษาบทบาทของทูตวัฒนธรรมต่างประเทศที่ปฏิบัติหน้าที่ประจำอยู่ในประเทศไทย : กรณีศึกษา 10 ประเทศ คือ ญี่ปุ่น จีน อินโดนีเซีย สหรัฐอเมริกา อังกฤษ สวีเดน เยอรมัน ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ และ(2) ศึกษาแนวทางการเนินงานทูตวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ

แบบแผนของงานวิจัย ได้แก่ การวิจัยเชิงพรรณา (Descriptive Research) โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม กลุ่มแรก สำหรับการศึกษาบทบาทของทูตวัฒนธรรมต่างประเทศในประเทศไทยในระหว่างเดือน ตุลาคม 2543 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2544 ซึ่งได้จากการสุ่มแบบเจาะจงประเทศละอย่างน้อย 1 คน ที่เต็มใจให้สัมภาษณ์ รวม ๑๐ ประเทศ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ เยอร์มัน สวีเดน สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อังกฤษ และอินโดนีเซีย กลุ่มที่สอง สำหรับการระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการแนวทางการดำเนินงานทูตวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ คือผู้ทรงคุณวุฒิด้านวัฒนธรรมไทย หรือทรงคุณวุฒิทางการทูต และมีความสนใจที่จะให้ความคิดเห็นในเชิงวิชาการ จำนวนทั้งสิ้น ๑๒ ท่าน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง

วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การสัมภาษณ์ทูตวัฒนธรรมต่างประเทศที่เป็นกรณีศึกษาหรือผู้เกี่ยวข้อง ในส่วนที่เกี่ยวกับบทบาทของทูตวัฒนธรรมต่างประเทศในประเทศไทย และการประชุมระดมความคิดผู้ทรงคุณวุฒิทางวัฒนธรรมและทางการทูต แบบ Focus Group

Discussion เกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานทูตวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ

นิยามศัพท์เฉพาะเพื่อการปฏิบัติการวิจัย คือ

๑. ทูตวัฒนธรรม หมายถึง เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากรัฐ ให้รับผิดชอบการดำเนินงานทูตวัฒนธรรมในต่างประเทศ เจ้าหน้าที่ดังกล่าวอาจจะเป็นข้าราชการของรัฐหรือไม่ก็ได้ และจะมีสถานภาพทางการทูตหรือไม่ก็ได้ แต่จะสังกัดอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศโดยตรง หรืออยู่ในการกำกับดูแลของกระทรวงการต่างประเทศ

๒. งานทูตวัฒนธรรม หมายถึง ภารกิจและกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งทูตวัฒนธรรมปฏิบัติอยู่ในต่างประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่จะรวมถึงงานที่เกี่ยวกับการศึกษา ภาษา ศาสนา

ศิลปะขนบธรรมเนียมประเพณี การประชาสัมพันธ์ ตลอดจนการรวบรวมและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม และการเป็นผู้แทนทางวัฒนธรรมของประเทศ

๓. บทบาทูตวัฒนธรรมต่างประเทศในประเทศไทย หมายถึง ภารกิจหลักที่ทูตวัฒนธรรมต่างประเทศในประเทศไทย ได้รับมอบหมาย รวมทั้งยุทธศาสตร์การจัดการเพื่อให้ภารกิจดังกล่าวบรรลุผลสำเร็จ

๑.๑ ภารกิจหลักของทูตวัฒนธรรม เช่น การเผยแพร่วัฒนธรรมในต่างประเทศ การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับต่างประเทศ การเป็นผู้แทนทางวัฒนธรรมของประเทศ การรวบรวมข่าวสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องและแก้ไขภาพลักษณ์ของประเทศ เป็นต้น

๑.๒ ยุทธศาสตร์การจัดการเพื่อให้ภารกิจบรรลุผลสำเร็จ เช่น การจัดโครงสร้างองค์กรที่มีประสิทธิภาพ การคัดเลือกทูตวัฒนธรรมที่มีคุณสมบัติเฉพาะ การจัดกิจกรรมเชิงรุกทางวัฒนธรรม การร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรมและทางสังคมกับประเทศเจ้าบ้านอย่างใกล้ชิด เป็นต้น

๒. แนวทางการดำเนินงานทูตวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ หมายถึง สิ่งที่ผู้ทรงคุณวุฒิในการวิจัยครั้งนี้ มีความเห็นพ้องกันเป็นเอกฉันท์ว่าสมควรนำมาเป็นแนวนโยบายในการดำเนินงานทูตวัฒนธรรมของประเทศไทย ได้แก่

๒.๑ ความจำเป็นของการมีทูตวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ เช่น ระดับความจำเป็น มาก ปานกลาง น้อย และเหตุผลที่จำเป็นหรือไม่จำเป็นต้องมีทูตวัฒนธรรม

๒.๒ รูปแบบที่พึงประสงค์ในการดำเนินงานทูตวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ เช่น รูปแบบที่ดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศ รูปแบบที่ดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่ของกระทรวงที่เกี่ยวข้องแต่ขึ้นต่อเอกอัครราชทูตหรืออัครราชทูตไทยในต่างประเทศ รูปแบบการดำเนินงานโดยศูนย์วัฒนธรรมไทยใน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Country has its own culture, which caused the accumulation, inherit, adjust and develop continuously กันมานาน serve for thousands of years, and is a member of the world community. This is changing fast.Contribute to society the world as many poles. The cultural festival was used as a tool of international relations. Because it does not cause problems. Because it is accepted voluntary and willing
.
.However, after the Second World War. Thailand not important or realize the potential of the culture. And always look only short-term benefits more than to see that as a result of long-term benefits.Often links about culture and international political issues are important, so the execution, obstacles and problems, mostly with volunteer activities. The local or foreign, and commitments to Thailand.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: