หัวข้อโครงการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการออกแบบเครื่องแต่งกายสำหรับผู้หญิงวัยทำงานโดยประยุกต์ใช้ผ้าขาวม้า
ชื่อนักศึกษา : 561224401 นางสาวศิริพร วิปัสสา
5612244012 นางสาวสุวิมล ศรีบัว
ปริญญา : เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์อุษา อินทร์ประสิทธิ์
บทคัดย่อ
การจัดทำโครงการวิจัยเรื่องการออกแบบเครื่องแต่งกายสำหรับผู้หญิงวัยทำงานโดยประยุกต์ใช้ผ้าขาวม้านี้มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ 1). เพื่อศึกษาและออกแบบเครื่องแต่งกายสำหรับผู้หญิงวัยทำงานโดยประยุกต์ใช้ผ้าขาวม้า 2). เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการออกแบบเครื่องแต่งกายสำหรับผู้หญิงวัยทำงานโดยประยุกต์ใช้ผ้าขาวม้า
จากการศึกษาใช้แนวความคิดจากผีเสื้อหนอนใบรักเซลขีด ซึ่งเป็นผีเสื้อกลางมีลักษณะสี ขาว เทา ดำ จึงได้นำเอาสีของผีเสื้อมาเป็น mood&tone ของชิ้นงาน เพื่อให้เข้ากับยุคสมัยช่วงการไว้อาลัยโดยใช้กรอบแนวคิดของ (จิตรพี ชวาลาวัณย์,2455) จากนั้นทำการสเก็ตดีไซน์ออกแบบร่างเครื่องแต่งกาย แล้วนำมาสรุปเป็นรูปแบบร่างได้ 5 รูปแบบ ซึ่งให้ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการออกแบบจำนวน 3 ท่าน เป็นผู้ประเมินรูปแบบที่มีความเหมาะสมที่สุดมาสร้างเป็นเครื่องแต่งกายต้นแบบเพื่อนำไปประเมินความพึงพอใจของกลุ่มผู้หญิงวัยทำงาน และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการจากการประเมินความพึงพอใจจากผู้เชี่ยวชาญพบว่ารูปแบบที่มีความเหมาะสมที่สุด คือรูปแบบ B ผลการวิเคราะห์มีค่าเฉลี่ย 3.43 อยู่ในระดับมาก สามารถสร้างผลิตภัณฑ์เครื่องแต่งกายสำหรับผู้หญิงวัยทำงานโดยประยุกต์ใช้ผ้าขาวม้าได้ โดยใช้เกณฑ์กรรมวิธีในการผลิต(=3.67,SD=.63) อยู่ในระดับมาก ด้านประโยชน์ใช้สอย (=3.40,SD=.77) อยู่ในระดับปานกลาง ด้านความสวยงาม (=3.24,SD=.43) อยู่ในระดับปานกลาง
จากวัตถุประสงค์ข้อ 2 ศึกษาความพึงพอใจจากผู้บริโภค ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย รูปแบบเครื่องแต่งรูปแบบมีความเหมาะสมกับสัดส่วนผู้หญิง (=4.36,SD=.55) อยู่ในระดับมาก เหมาะกับกับการสวมใส่หลากหลายโอกาส (=3.86,SD=.62) อยู่ในระดับมาก เหมาะกับทุกๆสภาพอากาศ(=3.83,SD=.69) อยู่ในระดับมาก สามารถนำไปมิกแอนแมทกับเสื้อผ้าชุดอื่นๆได้ (=4.03,SD=.76) อยู่ในระดับมาก สวมใส่ได้จริงในชีวิตประจำวันและการทำงาน (=4.2,SD=.78) อยู่ในระดับมาก ด้านความสวยงามรูปแบบและลวดลายมีความทันสมัย (=4.4,SD=.62) อยู่ในระดับมาก สีสันและลวดลายสวยงามตามยุคตามสมัย (=4.1,SD=.71) อยู่ในระดับมาก รูปแบบสามารถเสริมบุคลิกภาพให้ดูดีกับผู้หญิงวัยทำงาน (=4.23,SD=.81) อยู่ในระดับมาก กรรมวิธีในการผลิตเนื้อผ้าเหมาะสมต่อการนำมาตัดเย็บ (=4.1,SD=.71) อยู่ในระดับมาก รูปแบบแพ็กเทิร์นเหมาะกับการผลิตและการใช้งาน (=4.26,SD=.69) อยู่ในระดับมาก โดยผลการเฉลี่ยสรุปออกมาได้ว่า รูปแบบเครื่องแต่งมีความเหมาะสมกับสัดส่วนผู้หญิง มีผลเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด
หัวข้อโครงการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการออกแบบเครื่องแต่งกายสำหรับผู้หญิงวัยทำงานโดยประยุกต์ใช้ผ้าขาวม้าชื่อนักศึกษา : 561224401 นางสาวศิริพร วิปัสสา 5612244012 นางสาวสุวิมล ศรีบัว ปริญญา : เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์อุษา อินทร์ประสิทธิ์ บทคัดย่อ การจัดทำโครงการวิจัยเรื่องการออกแบบเครื่องแต่งกายสำหรับผู้หญิงวัยทำงานโดยประยุกต์ใช้ผ้าขาวม้านี้มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ 1). เพื่อศึกษาและออกแบบเครื่องแต่งกายสำหรับผู้หญิงวัยทำงานโดยประยุกต์ใช้ผ้าขาวม้า 2). เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการออกแบบเครื่องแต่งกายสำหรับผู้หญิงวัยทำงานโดยประยุกต์ใช้ผ้าขาวม้า จากการศึกษาใช้แนวความคิดจากผีเสื้อหนอนใบรักเซลขีด ซึ่งเป็นผีเสื้อกลางมีลักษณะสี ขาว เทา ดำ จึงได้นำเอาสีของผีเสื้อมาเป็น mood&tone ของชิ้นงาน เพื่อให้เข้ากับยุคสมัยช่วงการไว้อาลัยโดยใช้กรอบแนวคิดของ (จิตรพี ชวาลาวัณย์,2455) จากนั้นทำการสเก็ตดีไซน์ออกแบบร่างเครื่องแต่งกาย แล้วนำมาสรุปเป็นรูปแบบร่างได้ 5 รูปแบบ ซึ่งให้ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการออกแบบจำนวน 3 ท่าน เป็นผู้ประเมินรูปแบบที่มีความเหมาะสมที่สุดมาสร้างเป็นเครื่องแต่งกายต้นแบบเพื่อนำไปประเมินความพึงพอใจของกลุ่มผู้หญิงวัยทำงาน และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการจากการประเมินความพึงพอใจจากผู้เชี่ยวชาญพบว่ารูปแบบที่มีความเหมาะสมที่สุด คือรูปแบบ B ผลการวิเคราะห์มีค่าเฉลี่ย 3.43 อยู่ในระดับมาก สามารถสร้างผลิตภัณฑ์เครื่องแต่งกายสำหรับผู้หญิงวัยทำงานโดยประยุกต์ใช้ผ้าขาวม้าได้ โดยใช้เกณฑ์กรรมวิธีในการผลิต(=3.67,SD=.63) อยู่ในระดับมาก ด้านประโยชน์ใช้สอย (=3.40,SD=.77) อยู่ในระดับปานกลาง ด้านความสวยงาม (=3.24,SD=.43) อยู่ในระดับปานกลาง จากวัตถุประสงค์ข้อ 2 ศึกษาความพึงพอใจจากผู้บริโภค ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย รูปแบบเครื่องแต่งรูปแบบมีความเหมาะสมกับสัดส่วนผู้หญิง (=4.36,SD=.55) อยู่ในระดับมาก เหมาะกับกับการสวมใส่หลากหลายโอกาส (=3.86,SD=.62) อยู่ในระดับมาก เหมาะกับทุกๆสภาพอากาศ(=3.83,SD=.69) อยู่ในระดับมาก สามารถนำไปมิกแอนแมทกับเสื้อผ้าชุดอื่นๆได้ (=4.03,SD=.76) อยู่ในระดับมาก สวมใส่ได้จริงในชีวิตประจำวันและการทำงาน (=4.2,SD=.78) อยู่ในระดับมาก ด้านความสวยงามรูปแบบและลวดลายมีความทันสมัย (=4.4,SD=.62) อยู่ในระดับมาก สีสันและลวดลายสวยงามตามยุคตามสมัย (=4.1,SD=.71) อยู่ในระดับมาก รูปแบบสามารถเสริมบุคลิกภาพให้ดูดีกับผู้หญิงวัยทำงาน (=4.23,SD=.81) อยู่ในระดับมาก กรรมวิธีในการผลิตเนื้อผ้าเหมาะสมต่อการนำมาตัดเย็บ (=4.1,SD=.71) อยู่ในระดับมาก รูปแบบแพ็กเทิร์นเหมาะกับการผลิตและการใช้งาน (=4.26,SD=.69) อยู่ในระดับมาก โดยผลการเฉลี่ยสรุปออกมาได้ว่า รูปแบบเครื่องแต่งมีความเหมาะสมกับสัดส่วนผู้หญิง มีผลเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด
การแปล กรุณารอสักครู่..
