เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอด การแปล - เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอด อังกฤษ วิธีการพูด

เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525


เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดเขื่อนนเรศวร และทรงเยี่ยมราษฎร ณ บริเวณเขื่อนนเรศวร บ้านหาดใหญ่ ตำบลพรหมพิราม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก และได้พระราชทานแนวพระราชดำริ ให้วางโครงการและก่อสร้างเขื่อนเก็บกักน้ำแควน้อยโดยเร่งด่วน เพื่อการบรรเทาอุทกภัยในเขตลุ่มน้ำแควน้อยตอนล่าง และจัดหาน้ำสนับสนุนโครงการชลประทานพิษณุโลก และโครงการชลประทานเจ้าพระยาใหญ่ ให้ได้ผลอย่างสมบูรณ์ และเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2538 ณ ศาลาดุสิตาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พระราชทานพระราชดำรัสตอนหนึ่งว่า[1]


“...ส่วนที่พิษณุโลกก็มีน้ำไหลลงมาจากข้าง ๆ อีกสายหนึ่ง แควน้อยซึ่งจะต้องทำ...อันนี้ก็ยังไม่ได้ทำ ซี่งจะต้องทำ เพื่อเก็บกักน้ำที่มาจากอำเภอชาติตระการ อาจจะมีคนค้านว่าทำไมทำเขื่อนพวกนี้แล้วมีประโยชน์อะไร ก็เห็นแล้วประโยชน์ของเขื่อนใหญ่เขื่อนนี้ ถ้าไม่มี 2 เขื่อนนี้ ที่นี่น้ำจะท่วมยิ่งกว่า จะไม่ท่วมเพียงแค่นี้ จะท่วมทั้งหมด...”


หลังจากได้มีแนวพระราชดำริก็ได้มีการศึกษาความเหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ รวมทั้งการออกแบบรายละเอียดโครงการจนแล้วเสร็จเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2545 และได้ผ่านการพิจารณาตามขั้นตอนของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ มีมติเห็นชอบรายงาน เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ.2545 และคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้เริ่มดำเนินการก่อสร้างโครงการเขื่อนแควน้อย ในวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2546 และมอบหมายให้กรมชลประทานวางแผนงานที่จะดำเนินการก่อสร้างในปี 2546 - 2554 ระยะเวลาดำเนินการ 9 ปี โดยในปี 2546 จะขอใช้งบประมาณจาก สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (กปร.) และใช้งบประมาณปกติก่อสร้างโครงการในปีต่อ ๆ ไปจนแล้วเสร็จ[1]

เมื่อการก่อสร้างดำเนินมาถึงจุดที่สามารถพร้อมที่จะทำหน้าที่กับเก็บน้ำได้แล้วนั้น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำเนินไปในพิธีเริ่มการกักเก็บน้ำเขื่อนแควน้อย เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ต่อมาเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พระราชทานามเขื่อนนี้เพิ่มเติมว่า เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน หมายถึง เขื่นแควน้อยที่ทำให้มีความเจริญในพื้นที่[2]

เมื่อโครงการก่อสร้างแล้วเสร็จสมบูรณ์และพร้อมใช้งานในปี พ.ศ. 2554 และในวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พร้อมด้วย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินออกจากอาคารโรงพยาบาลศิริราช มาที่ท่าเทียบเรือ ประทับเรือพระที่นั่งอังสนา ล่องไปตามแม่น้ำเจ้าพระยา โดยเรือพระที่นั่งมาจอดเทียบท่าและขึ้นประทับที่เกาะเกร็ด และใน เวลา 19.50 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงวางพระหัตถ์ บนแท่นตราสัญลักษณ์โครงการ เป็นการเปิดโครงการชลประทา 5 โครงการ (1. โครงการพัฒนาลุ่มน้ำพะยังตอนบน จังหวัดกาฬสินธ์ 2. โครงการพัฒนาลุ่มน้ำก่ำ จังหวัดนครพนมและจังหวัดสกลนคร 3. โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง 4. เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน และ 5. เขื่อนขุนด่านปราการชล[2]) พร้อมกันทั่วประเทศ ผ่านระบบวิดีโอลิ้งก์[3]
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
B.e. 2525 February 25 when his Majesty King Bhumibol Adulyadej has opened a dam in excellent shape and the sideline at naresuan dam Ban Hat Yai naresuan. Tambon Phrom phiram district of Phitsanulok province and Phrom phiram. King's concept for the initiative, place the project and construction of dams, catchment Kwai Noi by urgency. To alleviate flooding in the River Kwai Noi district, and water supply, irrigation, irrigation projects and project support, Chao Phraya, ineffective and completely when the December 4 2538 (1995) dusita Sala suan chit LADA University. Dusit Palace His Majesty King Bhumibol Adulyadej has gave the South an episode that word [1] "Part of Phitsanulok, it has water flowing down from the quarry, another one of the little river, which would have to be made ... but this one is not yet spoke for themselves entrapped water that came from the chat trakan district, there may be more people working, that's why they dam unopposed and then saw something useful benefit of this large dam a dam if no 2 this dam. Here, the water will flood more than flood this will not just be flooded to all ... "หลังจากได้มีแนวพระราชดำริก็ได้มีการศึกษาความเหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ รวมทั้งการออกแบบรายละเอียดโครงการจนแล้วเสร็จเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2545 และได้ผ่านการพิจารณาตามขั้นตอนของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ มีมติเห็นชอบรายงาน เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ.2545 และคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้เริ่มดำเนินการก่อสร้างโครงการเขื่อนแควน้อย ในวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2546 และมอบหมายให้กรมชลประทานวางแผนงานที่จะดำเนินการก่อสร้างในปี 2546 - 2554 ระยะเวลาดำเนินการ 9 ปี โดยในปี 2546 จะขอใช้งบประมาณจาก สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (กปร.) และใช้งบประมาณปกติก่อสร้างโครงการในปีต่อ ๆ ไปจนแล้วเสร็จ[1]เมื่อการก่อสร้างดำเนินมาถึงจุดที่สามารถพร้อมที่จะทำหน้าที่กับเก็บน้ำได้แล้วนั้น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำเนินไปในพิธีเริ่มการกักเก็บน้ำเขื่อนแควน้อย เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ต่อมาเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พระราชทานามเขื่อนนี้เพิ่มเติมว่า เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน หมายถึง เขื่นแควน้อยที่ทำให้มีความเจริญในพื้นที่[2]เมื่อโครงการก่อสร้างแล้วเสร็จสมบูรณ์และพร้อมใช้งานในปี พ.ศ. 2554 และในวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พร้อมด้วย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินออกจากอาคารโรงพยาบาลศิริราช มาที่ท่าเทียบเรือ ประทับเรือพระที่นั่งอังสนา ล่องไปตามแม่น้ำเจ้าพระยา โดยเรือพระที่นั่งมาจอดเทียบท่าและขึ้นประทับที่เกาะเกร็ด และใน เวลา 19.50 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงวางพระหัตถ์ บนแท่นตราสัญลักษณ์โครงการ เป็นการเปิดโครงการชลประทา 5 โครงการ (1. โครงการพัฒนาลุ่มน้ำพะยังตอนบน จังหวัดกาฬสินธ์ 2. โครงการพัฒนาลุ่มน้ำก่ำ จังหวัดนครพนมและจังหวัดสกลนคร 3. โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง 4. เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน และ 5. เขื่อนขุนด่านปราการชล[2]) พร้อมกันทั่วประเทศ ผ่านระบบวิดีโอลิ้งก์[3]
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: