บทความเรื่อง “ห้องสมุดออนไลด์(ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์) E-Library”  แหล่ การแปล - บทความเรื่อง “ห้องสมุดออนไลด์(ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์) E-Library”  แหล่ อังกฤษ วิธีการพูด

บทความเรื่อง “ห้องสมุดออนไลด์(ห้องส

บทความเรื่อง “ห้องสมุดออนไลด์(ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์) E-Library”

แหล่งการเรียนรู้ที่สำคัญของคนเรา นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน คือ ห้องสมุด เนื่องห้องสมุดเป็นแหล่ง รวบรวมสารสนเทศทุกรูปแบบ ทั้งที่เป็นวัสดุตีพิมพ์ และวัสดุไม่ตีพิมพ์ เพื่อให้ผู้ใช้ได้ค้นคว้าตอบสนองตามความต้องการ ด้วยสภาพปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามามีบทบาทต่อการดำเนินชีวิต ในทุกๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นทางด้าน การศึกษา เศรษฐกิจ สังคม ซึ่งจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ความรู้ต่างๆ ถูกนำเข้าสู่ระบบดิจิตอลมากขึ้นด้วยห้องสมุดซึ่งเป็นหน่วยงานที่จะต้องให้บริการทางด้านสารสนเทศอยู่แล้ว จึงจำเป็นอย่างที่สุดที่จะต้องมีการพัฒนาปรับเปลี่ยนเพื่อให้มีศักยภาพแห่งการเรียนรู้มากยิ่งขึ้นสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบันโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการจัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบดิจิตอลเพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการนำข้อมูลนั้นมาใช้ ก่อให้เกิดการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย เพิ่มความสามารถในการเรียนรู้ข้อมูลข่าวสาร ได้ครบถ้วน รวดเร็ว จากเหตุผลดังกล่าว ห้องสมุดส่วนใหญ่ในปัจจุบัน จึงได้มีการปรับเปลี่ยนตัวเองไปสู่ระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มากขึ้น
ความหมายของ E-Library
น้ำทิพย์ วิภาวิน (2545;3) ได้ให้ความหมายของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ไว้ว่า E-Library มาจากคำว่า Electronic Library หรือห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในลักษณะผสมผสานการทำงานของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ห้องสมุดดิจิตอลและห้องสมุดเสมือน

ลักษณะของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
น้ำทิพย์ วิภาวิน (2545:9) ได้กล่าวถึงลักษณะของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ว่า ลักษณะการทำงานของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการใช้เทคโนโลยีในห้องสมุด ประกอบด้วย
1. การคัดเลือกเพื่อพัฒนาทรัพยากร (Selection to create a collection)
2. การจัดการหรือจัดหมวดหมู่เพื่อพัฒนาทรัพยากร(Organization to enable access)
3. การอนุรักษ์ทรัพยากรเพื่อความต่อเนื่องในการใช้งานในอนาคต (Preservation for ongoing use )
4. การบริการข้อมูลตามความต้องการของผู้ใช้ (Information services for users,need)

ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์มีการทำงานของระบบต่างๆ ดังนี้
1. ห้องสมุดดิจิตอล
องค์ประกอบของการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (Hardware) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software) บุคลากร (Staff) และทรัพยากรที่จัดเก็บในรูปดิจิตอล (Collection) ซึ่งทำให้การจัดทำระบบสารสนเทศห้องสมุด มีลักษณะดังต่อไปนี้
มีทรัพยากรที่เป็นข้อมูลอยู่ในรูปดิจิตอลเรียกว่า digital objects ได้แก่ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร รูปภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหว (Language –based , Image –based , Sound-based , Motion-based) จัดเก็บไว้ในแหล่งจัดเก็บข้อมูล (Repository) ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักที่ใช้จัดเก็บข้อมูล (Server)
มีการบริหารจัดการในลักษณะขององค์กร เช่นเดียวกับการจัดการห้องสมุดโดยมีการคัดเลือก การจัดการ การจัดเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูล การเผยแพร่ข้อมูล และมีเครื่องมือช่วยค้นที่ให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้
มีการใช้เทคโนโลยีในการสร้างข้อมูล การจัดเก็บ การเผยแพร่ผ่านระบบเครือข่าย
มีการบริการข้อมูลในลักษณะการใช้ข้อมูลร่วมกัน (fair use)
มีการแนะนำการใช้ข้อมูลแก่ผู้ใช้และการอ้างถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
มีวัฏจักรของการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล ได้แก่ การสร้างข้อมูลดิจิตอล (Creation) การเผยแพร่ข้อมูล (Dissemination) การใช้ข้อมูล (Use) และการอนุรักษ์ข้อมูล (Preservation)

2. ห้องสมุดเสมือน
คำว่า virtual ใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูลในหัวข้อหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากที่ต่างๆมาไว้ที่หน้าจอเดียวกัน ได้มีผู้ให้คำจำกัดความของห้องสมุดเสมือน ในหลายความหมายได้แก่
-ห้องสมุดเสมือนเป็นกลุ่มของข้อมูลที่เชื่อมโยงกันในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยจัดเก็บข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย(Server) เพื่อให้บริการการเชื่อมโยงข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต
-ห้องสมุดเสมือนไม่ได้เป็นโครงสร้างหรืออาคารห้องสมุดแห่งใดแห่งหนึ่งที่มี การบริการจัดการโดยเอกเทศ แต่เป็นโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงทรัพยากร บุคคล เป้าหมาย และความสนใจของกลุ่มบุคคลเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้สะดวกและรวดเร็ว
-ห้องสมุดเสมือนไม่ได้มีข้อมูลในห้องสมุดแห่งใดแห่งหนึ่งเท่านั้น แต่เป็นการรวมข้อมูลจากหลายแห่งโดยที่ผู้ใช้ที่อยู่ไกลสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว
-ห้องสมุดเสมือนจึงเป็นห้องสมุดในจิตนาการที่มีความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลรายการบรรณานุกรมและเอกสารจำนวนมากไว้ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาเชื่อมโยงกันผ่านระบบเครือข่าย
ลักษณะเด่น ของห้องสมุดเสมือน คือ ความรวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูล (Accessibility) ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่
ข้อจำกัด ของห้องสมุดเสมือน คือ ต้องใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูลจำนวนมากและต้องมีโปรแกรมการสืบค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพสูง และมีเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีความสามารถในการบันทึกข้อมูลทุกรูปแบบ โดยมีลักษณะของข้อมูลที่เคลื่อนย้ายได้ง่าย


3. ห้องสมุดอัตโนมัติ
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เป็นการจัดระบบสารสนเทศในห้องสมุด ซึ่งประกอบด้วยส่วนของการทำงานใน 6โมดูลหลักๆ ได้แก่
· ระบบงานจัดหา (Acquisition)
· ระบบงานวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการ (Cataloging)
· ระบบงานวรสารและเอกสาร (Serial Control)
· ระบบงานบริการยืม-คืน (Circulation)
· ระบบงานสืบค้นรายการทรัพยากร (Online Public Access Catalogy) และ
· การควบคุมระบบ (Library system administrator)


จากที่กล่าวมาทั้งหมด สรุปได้ว่าแนวโน้มของห้องสมุดในอนาคตจะเป็นศูนย์รวมความรู้หรือจุดเชื่อมโยงความรู้ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ( Server ) มีการบริการข้อมูลในลักษณะ One-stop-shop of information เป็นการกระจายข้อมูลที่อยู่ตามแหล่งต่างๆ เชื่อมโยงมาที่หน้าจอเดียวที่ผู้ใช้ได้รับความสะดวกในการค้นหา โดยห้องสมุดยุคใหม่เน้นการจัดการข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานห้องสมุด และมีการเข้าถึงเนื้อหาข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

แหล่งอ้างอิง

“แนวโน้มของ E – Learning” [online]. เข้าถึงได้จาก: http//www.nstal.net/watya. (2551, พฤศจิกายน 21)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The article title "library (electronic library) on nalai E-Library." แหล่งการเรียนรู้ที่สำคัญของคนเรา นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน คือ ห้องสมุด เนื่องห้องสมุดเป็นแหล่ง รวบรวมสารสนเทศทุกรูปแบบ ทั้งที่เป็นวัสดุตีพิมพ์ และวัสดุไม่ตีพิมพ์ เพื่อให้ผู้ใช้ได้ค้นคว้าตอบสนองตามความต้องการ ด้วยสภาพปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามามีบทบาทต่อการดำเนินชีวิต ในทุกๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นทางด้าน การศึกษา เศรษฐกิจ สังคม ซึ่งจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ความรู้ต่างๆ ถูกนำเข้าสู่ระบบดิจิตอลมากขึ้นด้วยห้องสมุดซึ่งเป็นหน่วยงานที่จะต้องให้บริการทางด้านสารสนเทศอยู่แล้ว จึงจำเป็นอย่างที่สุดที่จะต้องมีการพัฒนาปรับเปลี่ยนเพื่อให้มีศักยภาพแห่งการเรียนรู้มากยิ่งขึ้นสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบันโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการจัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบดิจิตอลเพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการนำข้อมูลนั้นมาใช้ ก่อให้เกิดการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย เพิ่มความสามารถในการเรียนรู้ข้อมูลข่าวสาร ได้ครบถ้วน รวดเร็ว จากเหตุผลดังกล่าว ห้องสมุดส่วนใหญ่ในปัจจุบัน จึงได้มีการปรับเปลี่ยนตัวเองไปสู่ระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มากขึ้น ความหมายของ E-Library น้ำทิพย์ วิภาวิน (2545;3) ได้ให้ความหมายของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ไว้ว่า E-Library มาจากคำว่า Electronic Library หรือห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในลักษณะผสมผสานการทำงานของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ห้องสมุดดิจิตอลและห้องสมุดเสมือน ลักษณะของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ น้ำทิพย์ วิภาวิน (2545:9) ได้กล่าวถึงลักษณะของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ว่า ลักษณะการทำงานของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการใช้เทคโนโลยีในห้องสมุด ประกอบด้วย1. การคัดเลือกเพื่อพัฒนาทรัพยากร (Selection to create a collection)2. การจัดการหรือจัดหมวดหมู่เพื่อพัฒนาทรัพยากร(Organization to enable access)3. การอนุรักษ์ทรัพยากรเพื่อความต่อเนื่องในการใช้งานในอนาคต (Preservation for ongoing use )4. การบริการข้อมูลตามความต้องการของผู้ใช้ (Information services for users,need) ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์มีการทำงานของระบบต่างๆ ดังนี้1. ห้องสมุดดิจิตอล องค์ประกอบของการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (Hardware) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software) บุคลากร (Staff) และทรัพยากรที่จัดเก็บในรูปดิจิตอล (Collection) ซึ่งทำให้การจัดทำระบบสารสนเทศห้องสมุด มีลักษณะดังต่อไปนี้มีทรัพยากรที่เป็นข้อมูลอยู่ในรูปดิจิตอลเรียกว่า digital objects ได้แก่ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร รูปภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหว (Language –based , Image –based , Sound-based , Motion-based) จัดเก็บไว้ในแหล่งจัดเก็บข้อมูล (Repository) ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักที่ใช้จัดเก็บข้อมูล (Server)
มีการบริหารจัดการในลักษณะขององค์กร เช่นเดียวกับการจัดการห้องสมุดโดยมีการคัดเลือก การจัดการ การจัดเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูล การเผยแพร่ข้อมูล และมีเครื่องมือช่วยค้นที่ให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้
มีการใช้เทคโนโลยีในการสร้างข้อมูล การจัดเก็บ การเผยแพร่ผ่านระบบเครือข่าย
มีการบริการข้อมูลในลักษณะการใช้ข้อมูลร่วมกัน (fair use)
มีการแนะนำการใช้ข้อมูลแก่ผู้ใช้และการอ้างถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
มีวัฏจักรของการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล ได้แก่ การสร้างข้อมูลดิจิตอล (Creation) การเผยแพร่ข้อมูล (Dissemination) การใช้ข้อมูล (Use) และการอนุรักษ์ข้อมูล (Preservation)

2. ห้องสมุดเสมือน
คำว่า virtual ใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูลในหัวข้อหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากที่ต่างๆมาไว้ที่หน้าจอเดียวกัน ได้มีผู้ให้คำจำกัดความของห้องสมุดเสมือน ในหลายความหมายได้แก่
-ห้องสมุดเสมือนเป็นกลุ่มของข้อมูลที่เชื่อมโยงกันในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยจัดเก็บข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย(Server) เพื่อให้บริการการเชื่อมโยงข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต
-ห้องสมุดเสมือนไม่ได้เป็นโครงสร้างหรืออาคารห้องสมุดแห่งใดแห่งหนึ่งที่มี การบริการจัดการโดยเอกเทศ แต่เป็นโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงทรัพยากร บุคคล เป้าหมาย และความสนใจของกลุ่มบุคคลเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้สะดวกและรวดเร็ว
-ห้องสมุดเสมือนไม่ได้มีข้อมูลในห้องสมุดแห่งใดแห่งหนึ่งเท่านั้น แต่เป็นการรวมข้อมูลจากหลายแห่งโดยที่ผู้ใช้ที่อยู่ไกลสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว
-ห้องสมุดเสมือนจึงเป็นห้องสมุดในจิตนาการที่มีความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลรายการบรรณานุกรมและเอกสารจำนวนมากไว้ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาเชื่อมโยงกันผ่านระบบเครือข่าย
ลักษณะเด่น ของห้องสมุดเสมือน คือ ความรวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูล (Accessibility) ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่
ข้อจำกัด ของห้องสมุดเสมือน คือ ต้องใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูลจำนวนมากและต้องมีโปรแกรมการสืบค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพสูง และมีเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีความสามารถในการบันทึกข้อมูลทุกรูปแบบ โดยมีลักษณะของข้อมูลที่เคลื่อนย้ายได้ง่าย


3. ห้องสมุดอัตโนมัติ
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เป็นการจัดระบบสารสนเทศในห้องสมุด ซึ่งประกอบด้วยส่วนของการทำงานใน 6โมดูลหลักๆ ได้แก่
· ระบบงานจัดหา (Acquisition)
· ระบบงานวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการ (Cataloging)
· ระบบงานวรสารและเอกสาร (Serial Control)
· ระบบงานบริการยืม-คืน (Circulation)
· ระบบงานสืบค้นรายการทรัพยากร (Online Public Access Catalogy) และ
· การควบคุมระบบ (Library system administrator)


จากที่กล่าวมาทั้งหมด สรุปได้ว่าแนวโน้มของห้องสมุดในอนาคตจะเป็นศูนย์รวมความรู้หรือจุดเชื่อมโยงความรู้ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ( Server ) มีการบริการข้อมูลในลักษณะ One-stop-shop of information เป็นการกระจายข้อมูลที่อยู่ตามแหล่งต่างๆ เชื่อมโยงมาที่หน้าจอเดียวที่ผู้ใช้ได้รับความสะดวกในการค้นหา โดยห้องสมุดยุคใหม่เน้นการจัดการข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานห้องสมุด และมีการเข้าถึงเนื้อหาข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

แหล่งอ้างอิง

“แนวโน้มของ E – Learning” [online]. เข้าถึงได้จาก: http//www.nstal.net/watya. (2551, พฤศจิกายน 21)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The article on "library on the slide (Electronic Library) E-Library"

.Learning resources of important people. From the past to the present, is due to a source of library, library information gathering all kinds of models, both in printed material, and material not published.With the current state of information technology. In addition to life, in every aspect of the educational, economic, social, which from the development of information technology Make knowledge.Therefore, it is necessary to have the best development, adjusted to have the potential of learning more in accordance with the changes in modern times, especially in the management of information in digital form to the gym.And quick in data is used.Cause to save time and money. Add the ability to learn information, full quickly from the library mainly currently.More
.The meaning of the E-Library
nectar. She win (2545;
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: