สำหรับประเทศไทย ดร.รวีวรรณ ภูริเดช เลขาธิการสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยา การแปล - สำหรับประเทศไทย ดร.รวีวรรณ ภูริเดช เลขาธิการสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยา อังกฤษ วิธีการพูด

สำหรับประเทศไทย ดร.รวีวรรณ ภูริเดช

สำหรับประเทศไทย ดร.รวีวรรณ ภูริเดช เลขาธิการสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในฐานะหน่วยงานประสานงานกลางภายใต้กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศให้ข้อมูลว่า “การดำเนินงานหลังปี พ.ศ. 2563 (2020) เราตั้งเป้าจะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างน้อยร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 25 ภายในปี พ.ศ. 2573 โดยจะลดการใช้พลังงานฟอสซิล และใช้พลังงานทดแทนให้มากขึ้น เช่น ลดการขนส่งทางถนนเปลี่ยนมาเป็นการใช้ระบบขนส่งทางราง ใช้รถยนต์ไฟฟ้า เปลี่ยนขยะเป็นพลังงาน ผลักดันให้มีการใช้พลังงานทดแทนในแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของไทย (Power Development Plan: PDP) ให้มากขึ้น ลดการตัดไม้ทำลายป่า โดยทั้งหมดนี้จะยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวในการดำเนินงาน ทั้งนี้การลดก๊าซเรือนกระจกได้ถึงร้อยละ 25 จะอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ว่าต้องได้รับการสนับสนุนจากด้านเงินทุนและเทคโนโลยีจากต่างประเทศ”



หลายประเทศเห็นร่วมกันว่าข้อตกลงปารีสคือ ความก้าวหน้าครั้งสำคัญในการกำหนดกรอบกติกาของความตกลงโลกร้อนฉบับใหม่ที่จะมีผลบังคับใช้หลังปี พ.ศ. 2563



“สิ่งที่ทำให้ข้อตกลงปารีสแตกต่างจากอนุสัญญาฯ เมื่อปี พ.ศ. 2535 และพิธีสารเกียวโต ประเด็นหลักๆ คือ ไม่มีการแบ่งแยกอีกว่า ประเทศพัฒนาแล้วต้องรับผิดชอบมากกว่าประเทศที่กำลังพัฒนา ทุกประเทศอยู่ภายใต้กลไกเดียวกัน เป้าประสงค์เดียวกัน คือจะช่วยกันลด CO2 เพื่อไม่ให้อุณหภูมิโลกสูงเกิน 2 องศา ดังนั้นทุกๆ ประเทศต้องกลับมาวางแผนของตัวเองว่า การที่จะควบคุมไม่ให้อุณหภูมิสูงเกิน 2 องศา แต่ละประเทศต้องตั้งเป้าช่วยกันว่าจะลดเท่าไหร สิ่งที่สำคัญมากกว่านั้นก็คือ การลดก๊าซเรือนกระจกไม่ได้เป็นลักษณะ บนลงล่าง (top down) เหมือนพิธีสารเกียวโตที่กำหนดไปเลยว่า ประเทศที่พัฒนาแล้วต้องลดการปล่อย CO2 เท่าไหร่ตามสัดส่วนการปล่อยก๊าซในอดีต แต่ข้อตกลงปารีสให้แต่ละประเทศเสนอตัวเลขการลดก๊าซของประเทศตัวเอง เป็นการดำเนินงานล่างขึ้นบน (bottom up) นี่คือความแตกต่างที่เห็นได้ชัดเมื่อเทียบกับพิธีสารเกียวโต” คุณหลุยซ่า รัคเฮอร์ กล่าว

ในขณะเดียวกันมีข้อมูลที่น่าสนใจที่ทำให้เราต้องฉุกคิดว่า ข้อตกลงปารีสคือความสำเร็จจริงหรือ เพราะนักวิทยาศาสตร์กลุ่ม climate action tracker ได้นำตัวเลขการลดก๊าซเรือนกระจกของแต่ละประเทศที่แสดงเจตจำนงในการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภายหลัง พ.ศ. 2563 (INDC) ของ 184 ประเทศ (จาก 196 ประเทศ) มาสร้างโมเดลเพื่อดูว่า ถ้าทุกประเทศดำเนินงานตามเป้าที่ได้เสนอได้สำเร็จ จะช่วยลดอุณหภูมิของโลกไม่ให้เกิน 2 องศาหรือไม่

สิ่งที่เราพบคือ อุณหภูมิของโลกจะเพิ่มขึ้นไปถึง 2.7 องศาเซลเซียส ซึ่งหมายความว่าเรายังไม่สามารถบรรลุเป้าหมาย 2 องศาได้ เพราะเป้าหมายที่แต่ละประเทศเสนอมายังไม่เพียงพอ รวมถึงมีการตั้งคำถามว่าเงินสนับสนุนหนึ่งแสนล้านดอลลาร์ที่ประเทศพัฒนาแล้วจะสนับสนุนให้ประกำลังพัฒนานำไปใช้ในการลดก๊าซเรือนกระจกและปรับตัวเพื่อรับมือกับปัญหาโลกร้อนมันเพียงพอแล้วหรือ จึงเป็นข้อกังวลใจที่ภาคประชนชนคิดว่า อาจจะมากเกินไปที่จะบอกว่าข้อตกลงฉบับนี้คือ “ความสำเร็จ”

(แทรกแผนที่)
“เราต้องเข้าใจว่า หากอุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้น 1.5 องศาหลายประเทศจะจมน้ำไปแล้ว ดังนั้นการตั้งเป้าไว้ที่ 2 องศา หมายถึงเรากำลังยอมให้หลายประเทศจมน้ำ และวิกฤตจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรุนแรงระดับหนึ่ง ซึ่งทุกประเทศโดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนาต้องเตรียมรับมือ ในทางกลับกัน เป็นเรื่องเข้าใจได้ว่าการตั้งเป้าหมายอุณหภูมิที่ 2 องศาและมีการกล่าวถึง 1.5 องศา เป็นการประนีประนอมระดับหนึ่งเพื่อให้ได้สิ่งที่ทุกคนอยากเห็น จะได้สามารถบรรลุข้อตกลง เพราะหากการเจรจาครั้งนี้ล้มเหลวไม่ได้ข้อตกลงอะไรเป็นชิ้นเป็นอัน ความเชื่อมั่นต่อการแก้ปัญหาโลกร้อนภายใต้ระบบสหประชาชาติก็จะจบทันที

แต่ข้อตกลงปารีสจะทำให้โลกบรรลุเป้าหมาย 2 องศาได้อย่างไรนั้นยังมองไม่เห็น มีความห่วงใยจากภาคประชนอย่างมากว่าช่องว่างระหว่างเป้าหมายกับวิธีการที่จะลดก๊าซนั้น ยังต่างกันมากเกินไป โดยเฉพาะเมื่อการลดการปล่อยก๊าซฯ ตามข้อตกลงปารีส เป็นไปโดยสมัครใจ จึงไม่สามารถการันตีได้เลยว่าทั้งโลกจะตั้งเป้าในอนาคตให้ลดก๊าซฯมากขึ้นได้ทันไหม ทั้งหมดนี้ฝากความหวังไว้กับอนาคตว่าทุกประเทศจะอยากทำตัวดีขึ้น อีกประเด็นสำคัญคือในผลการประชุม ไม่มีการกล่าวถึงการลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล ทั้งที่ข้อมูลวิทยาศาสตร์ชี้ชัดมาหลายปีแล้วว่าหากจะไม่ให้โลกร้อนขึ้นเกิน 2 องศา สังคมมนุษย์จะต้องจัดการกับเรื่องนี้ก่อน

ในส่วนความช่วยเหลือด้านการเงิน 1 แสนล้านเหรียญสหรัฐต่อปี นั้นพอหรือเปล่า ขออธิบายอย่างนี้ มีการคำนวณออกมาว่า เงินที่ประเทศกำลังพัฒนาจะต้องใช้เพื่อการเปลี่ยนผ่านจากพลังงานฟอสซิลให้เป็นการพัฒนาคาร์บอนต่ำบวกรวมกับเงินที่ต้องใช้ในการปรับตัวเพื่อรับมือภาวะโลกร้อนนั้นรวมกันประมาณ 8 แสนล้านเหรียญต่อปี ซึ่งตอนนี้เรามีสัญญาว่า จะหาเงินสนับสนุนให้ได้ 1 แสนล้านเหรียญต่อปี หมายความว่ายังไม่พอ” ฝ้ายคำ หาญณรงค์ นักรณรงค์เคลื่อนไหวเรื่องโลกร้อน คณะทำงานโลกเย็นที่เป็นธรรมตั้งข้อสังเกต

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Thailand for the country. Dr. Rawiwan Phuridet The Secretary-General of the Office of policy and planning of natural resources and the environment as a central coordination unit under the krobonusanya United Nations climate change data, saying "the operation after the year 2563 (2020) we aim to reduce greenhouse gas emissions at least a hundred quid.ะ 20 to 25 percent within a year by reducing 2573 use fossil energy and renewable energy, such as reduction of road transport is the use of rail transport system. Use of electric cars, energy recovery as a push for renewable energy has been used in the development of electric capacity plan Thailand (Power Development Plan: PDP) more. Reduce deforestation by all this sufficiency economy principle as the trend in the operation. This is to reduce greenhouse gas emissions by up to 25 percent will be subject to the conditions that need to be supported from the capital and technology from abroad. " Many countries that the Paris agreement is significant progress in defining a global warming agreement of directors or executives having interest a new edition that will take effect after the year 2563.“สิ่งที่ทำให้ข้อตกลงปารีสแตกต่างจากอนุสัญญาฯ เมื่อปี พ.ศ. 2535 และพิธีสารเกียวโต ประเด็นหลักๆ คือ ไม่มีการแบ่งแยกอีกว่า ประเทศพัฒนาแล้วต้องรับผิดชอบมากกว่าประเทศที่กำลังพัฒนา ทุกประเทศอยู่ภายใต้กลไกเดียวกัน เป้าประสงค์เดียวกัน คือจะช่วยกันลด CO2 เพื่อไม่ให้อุณหภูมิโลกสูงเกิน 2 องศา ดังนั้นทุกๆ ประเทศต้องกลับมาวางแผนของตัวเองว่า การที่จะควบคุมไม่ให้อุณหภูมิสูงเกิน 2 องศา แต่ละประเทศต้องตั้งเป้าช่วยกันว่าจะลดเท่าไหร สิ่งที่สำคัญมากกว่านั้นก็คือ การลดก๊าซเรือนกระจกไม่ได้เป็นลักษณะ บนลงล่าง (top down) เหมือนพิธีสารเกียวโตที่กำหนดไปเลยว่า ประเทศที่พัฒนาแล้วต้องลดการปล่อย CO2 เท่าไหร่ตามสัดส่วนการปล่อยก๊าซในอดีต แต่ข้อตกลงปารีสให้แต่ละประเทศเสนอตัวเลขการลดก๊าซของประเทศตัวเอง เป็นการดำเนินงานล่างขึ้นบน (bottom up) นี่คือความแตกต่างที่เห็นได้ชัดเมื่อเทียบกับพิธีสารเกียวโต” คุณหลุยซ่า รัคเฮอร์ กล่าวในขณะเดียวกันมีข้อมูลที่น่าสนใจที่ทำให้เราต้องฉุกคิดว่า ข้อตกลงปารีสคือความสำเร็จจริงหรือ เพราะนักวิทยาศาสตร์กลุ่ม climate action tracker ได้นำตัวเลขการลดก๊าซเรือนกระจกของแต่ละประเทศที่แสดงเจตจำนงในการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภายหลัง พ.ศ. 2563 (INDC) ของ 184 ประเทศ (จาก 196 ประเทศ) มาสร้างโมเดลเพื่อดูว่า ถ้าทุกประเทศดำเนินงานตามเป้าที่ได้เสนอได้สำเร็จ จะช่วยลดอุณหภูมิของโลกไม่ให้เกิน 2 องศาหรือไม่ สิ่งที่เราพบคือ อุณหภูมิของโลกจะเพิ่มขึ้นไปถึง 2.7 องศาเซลเซียส ซึ่งหมายความว่าเรายังไม่สามารถบรรลุเป้าหมาย 2 องศาได้ เพราะเป้าหมายที่แต่ละประเทศเสนอมายังไม่เพียงพอ รวมถึงมีการตั้งคำถามว่าเงินสนับสนุนหนึ่งแสนล้านดอลลาร์ที่ประเทศพัฒนาแล้วจะสนับสนุนให้ประกำลังพัฒนานำไปใช้ในการลดก๊าซเรือนกระจกและปรับตัวเพื่อรับมือกับปัญหาโลกร้อนมันเพียงพอแล้วหรือ จึงเป็นข้อกังวลใจที่ภาคประชนชนคิดว่า อาจจะมากเกินไปที่จะบอกว่าข้อตกลงฉบับนี้คือ “ความสำเร็จ” (แทรกแผนที่) “เราต้องเข้าใจว่า หากอุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้น 1.5 องศาหลายประเทศจะจมน้ำไปแล้ว ดังนั้นการตั้งเป้าไว้ที่ 2 องศา หมายถึงเรากำลังยอมให้หลายประเทศจมน้ำ และวิกฤตจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรุนแรงระดับหนึ่ง ซึ่งทุกประเทศโดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนาต้องเตรียมรับมือ ในทางกลับกัน เป็นเรื่องเข้าใจได้ว่าการตั้งเป้าหมายอุณหภูมิที่ 2 องศาและมีการกล่าวถึง 1.5 องศา เป็นการประนีประนอมระดับหนึ่งเพื่อให้ได้สิ่งที่ทุกคนอยากเห็น จะได้สามารถบรรลุข้อตกลง เพราะหากการเจรจาครั้งนี้ล้มเหลวไม่ได้ข้อตกลงอะไรเป็นชิ้นเป็นอัน ความเชื่อมั่นต่อการแก้ปัญหาโลกร้อนภายใต้ระบบสหประชาชาติก็จะจบทันที
แต่ข้อตกลงปารีสจะทำให้โลกบรรลุเป้าหมาย 2 องศาได้อย่างไรนั้นยังมองไม่เห็น มีความห่วงใยจากภาคประชนอย่างมากว่าช่องว่างระหว่างเป้าหมายกับวิธีการที่จะลดก๊าซนั้น ยังต่างกันมากเกินไป โดยเฉพาะเมื่อการลดการปล่อยก๊าซฯ ตามข้อตกลงปารีส เป็นไปโดยสมัครใจ จึงไม่สามารถการันตีได้เลยว่าทั้งโลกจะตั้งเป้าในอนาคตให้ลดก๊าซฯมากขึ้นได้ทันไหม ทั้งหมดนี้ฝากความหวังไว้กับอนาคตว่าทุกประเทศจะอยากทำตัวดีขึ้น อีกประเด็นสำคัญคือในผลการประชุม ไม่มีการกล่าวถึงการลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล ทั้งที่ข้อมูลวิทยาศาสตร์ชี้ชัดมาหลายปีแล้วว่าหากจะไม่ให้โลกร้อนขึ้นเกิน 2 องศา สังคมมนุษย์จะต้องจัดการกับเรื่องนี้ก่อน

ในส่วนความช่วยเหลือด้านการเงิน 1 แสนล้านเหรียญสหรัฐต่อปี นั้นพอหรือเปล่า ขออธิบายอย่างนี้ มีการคำนวณออกมาว่า เงินที่ประเทศกำลังพัฒนาจะต้องใช้เพื่อการเปลี่ยนผ่านจากพลังงานฟอสซิลให้เป็นการพัฒนาคาร์บอนต่ำบวกรวมกับเงินที่ต้องใช้ในการปรับตัวเพื่อรับมือภาวะโลกร้อนนั้นรวมกันประมาณ 8 แสนล้านเหรียญต่อปี ซึ่งตอนนี้เรามีสัญญาว่า จะหาเงินสนับสนุนให้ได้ 1 แสนล้านเหรียญต่อปี หมายความว่ายังไม่พอ” ฝ้ายคำ หาญณรงค์ นักรณรงค์เคลื่อนไหวเรื่องโลกร้อน คณะทำงานโลกเย็นที่เป็นธรรมตั้งข้อสังเกต

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
In Thailand, Dr. Raweewan wisdom might Secretary of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, as the central coordinating agency within the UN Convention on climate change to that information. "After the year 2563 (2020), we set a target to reduce greenhouse gas emissions by at least 20 percent to 25 percent by the year 2573 by reducing the use of fossil energy. And the use of renewable energy to reduce road transport, more like a change to the urban rail transit. Electric car Turning waste into energy Encourage the use of renewable energy in the power development plan of Thailand (Power Development Plan: PDP), the greater the reduction in deforestation. All this is based on the sufficiency economy concept is in operation. The reduction of greenhouse gases by up to 25 percent under the condition that must be supported by capital and technology from abroad, " many countries agreed that the Paris agreement. A major milestone in the framework of a new global warming agreement to take effect after the year 2563 , "What makes the deal different from Paris Convention and the 2535 Protocol. Kyoto's main point is that there is no discrimination. Developed countries are responsible for more than developing countries. All countries under the same mechanism. the same goals Is helping to reduce CO2 to keep global temperatures within 2 degrees, so every country needs to plan for themselves. To control the temperature within two degrees of each country must aim to reduce as well jar. The more important it is. Reducing greenhouse gases not look down (top down) as the Kyoto Protocol to limit that. Developed countries need to reduce CO2 emissions in proportion to how much emissions in the past. But the Paris agreement that each country proposes to reduce the number of gas itself. As the bottom (bottom up) This is the difference noticeable when compared to the Kyoto Protocol, "you Luisana constructions Maher said while there is compelling information that we have an inkling that. The agreement is a success or Paris. Because scientists climate action tracker has brought a number of countries to reduce greenhouse gases, the intent to take action to tackle climate change after the 2563 (INDC) of 184 countries (from 196 countries). the model for that If all the targets that they have accomplished. Reduces global temperatures not to exceed 2 degrees or not what we found. Global temperature rise to 2.7 degrees Celsius, which means that we can not achieve the two-degree target, because each country has to offer is not enough. It has been questioned whether funding a billion dollars to developing countries to support the developing world to reduce greenhouse gases and to adapt to cope with global warming it enough already. The concerns that the sector Prachn think. May be too much to say that this agreement is. "Success" (insert map) "We need to understand that. If global temperatures rise 1.5 degrees, many countries are already drowning. Therefore, the target of two degrees means we are allowing many countries drowning. The crisis of climate change and extreme degree. All countries, especially developing countries must prepare for in return is understood that the target temperature is 2 degrees, 1.5 degrees and is said to be a compromise to achieve what everyone wants to see. To reach agreement If negotiations fail, because this is not something substantial agreement. Sentiment towards solving the problem of global warming under the UN system would end soon , but the deal will make Paris the 2-degree goal, however, was still not visible. There was concern from the Prachn huge gap between the target and how to reduce those gases. There are too many Especially on the reduction of emissions. Paris Agreement Is voluntary I can not guarantee that the future world will aim to reduce gas more quickly overs. This relied on the future that all countries would behave better. Another issue was the result of the meeting. There is no mention of reducing the use of fossil fuels. Scientific data indicate that many years ago that if you do not give up more than two degrees of global warming, human society will have to deal with this matter before the financial assistance of US $ 1 billion per year. It is enough Let me explain it this way There are figuring out that That developing countries will need to transition from fossil fuels to a low-carbon development, combined with the money needed to adapt to tackle global warming together about eight billion dollars a year. Now that we have promised. To raise money to support them one hundred million dollars a year. That is not enough, "Fai Kum Hannarong Campaigners global warming movement. The working group Climate Justice noted.




















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The professor rawee Wan Puri power of office of natural resources and environmental policy and planning as the coordinating agency under the United Nations Framework Convention on climate change to the data. "The operation after the year 2563 (2020). We aim to reduce greenhouse gas emissions by at least 20%% 25 within the year 2573 by will reduce the use fossil energy. And the use of renewable energy more, such as reduction of road transportation's switch to use the rail transport, use electric vehicle turning the waste into energy. Push for the use of renewable energy development plan of electricity generating capacity (Power Development Plan: PDP) more, reduce the deforest? By all this will pea line in operation. The greenhouse gas mitigation% of 25 shall be under the conditions that need to get support from the capital and technology from abroad. "Many countries shared the view that the agreement Paris. Important progress in determining the rules of the global warming issue new to มีผลบังคับใช้หลัง year 2563."What makes the agreement Paris is different from the Convention and the Kyoto protocol. 2535 ประเด็นหลัก. Is undivided again. The developed country responsibility than developing countries. All countries are under the same mechanism objective is to help reduce the same CO2 to prevent temperature too high 2 Milo many degrees. So every The country must return their own plan. In order to keep temperature too high 2 degrees. Each country must aim to help to reduce how much? What is more important is that. Reducing greenhouse gases are not the top to bottom (top down) like the Kyoto protocol that defines it. The developed countries to reduce emissions of CO2 much proportion emissions in the past. But the agreement Paris to each country offers a number of reducing gas of the country itself. A bottom up process (bottom up) this is the obvious difference compared with the Kyoto protocol. "You Louisa ruck and said.At the same time, interesting information that we need, emergency!
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: