1.การศึกษาของไทยสมัยโบราณ ( พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411) การศึกษาสมัยนี้เป็น การแปล - 1.การศึกษาของไทยสมัยโบราณ ( พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411) การศึกษาสมัยนี้เป็น อังกฤษ วิธีการพูด

1.การศึกษาของไทยสมัยโบราณ ( พ.ศ. 17

1.การศึกษาของไทยสมัยโบราณ ( พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411)
การศึกษาสมัยนี้เป็นการศึกษาแบบสืบทอดวัฒนธรรมประเพณี โดยมีบ้านและวัดเป็นศูนย์กลางของการศึกษา เช่นบ้านเป็นสถานที่อบรมกล่อมเกลาจิตใจของสมาชิกภายในบ้าน วังเป็นสถานที่รวมเอานักปราชญ์สาขาต่างๆ มาเป็นขุนนางรับใช้เบื้องพระยุคลบาท วัดเป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ซึ่งพระจะทำหน้าที่ในการอบรมสั่งสอนธรรมะแก่พุทธศาสนิกชนจะเห็นได้ว่าสถาบันทั้งสามนี้ล้วนแต่มีบทบาทในการศึกษาอบรมสำหรับคนไทยในสมัยนั้นในการถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง 1.1 การศึกษาในสมัยสุโขทัย (พ.ศ. 1781 พ.ศ. 1921)มีลักษณะการจัด ดังนี้
1. รูปแบบการจัดการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายอาณาจักรแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ส่วนที่หนึ่งเป็นการจัดการศึกษาสำหรับผู้ชายที่เป็นทหาร เช่น มวย กระบี่กระบองและอาวุธต่างๆ ตลอดจนวิธีการบังคับม้า ช้างตำราพิชัยยุทธ์ และส่วนที่สองพลเรือน เป็นการจัดการศึกษาให้แก่พลเรือนผู้ชายเรียนคัมภีร์ไตรเวทโหราศาสตร์เวชกรรม ส่วนพลเรือนผู้หญิงให้เรียนวิชาช่างสตรี การปัก การย้อม การเย็บการถักทอ
2. สถานศึกษาสำหรับสถานศึกษาในสมัยนี้ ประกอบด้วย
(1) บ้านเป็นสถาบันสังคมพื้นฐานที่ช่วยทำหน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ด้านอาชีพตามบรรพบุรุษการก่อสร้างบ้านเรือนศิลปะการป้องกันตัวสำหรับลูกผู้ชายและการบ้านการเรือน
(2) สำนักสงฆ์เป็นสถานศึกษาที่สำคัญของราษฎรทั่วไป เพื่อหน้าที่ขัดเกลาจิตใจ และแสวงหาธรรมะ
(3) สำนักราชบัณฑิต เป็นบ้านของบุคคลที่ประชาชนยกย่องว่ามีความรู้สูงบางคนก็เป็นขุนนางมียศถาบรรดาศักดิ์ บางคนก็เคยบวชเรียนแล้วจึงมีความรู้แตกฉานในแขนงต่างๆ
(4) พระราชสำนักเป็นสถานศึกษาของพระราชวงศ์และบุตรหลานของขุนนางในราชสำนักมีพราหมณ์หรือราชบัณฑิตเป็นครูสอน
3. วิชาที่สอน ไม่ได้กำหนดตายตัว พอแบ่งออกได้ดังนี้
(1) วิชาความรู้สามัญ สันนิษฐานว่าในช่วงต้นสุโขทัยใช้ภาษาบาลีและสันสกฤต ต่อมาในสมัยหลังจากที่พ่อขุนรามคำแหงได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช้เมื่อ พ.ศ. 1826 จึงมีการเรียนภาษาไทยกัน
(2) วิชาชีพ เรียนกันตามแบบอย่างบรรพบุรุษตระกูลใดมีความชำนาญด้านใดลูกหลานจะมีความถนัดและประกอบอาชีพตามแบบอย่างกันมา เช่นตระกูลใดเป็นแพทย์ก็จะสอนบุตรหลานให้เป็นแพทย์
(3) วิชาจริยศึกษาสอนให้เคารพนับถือบรรพบุรุษการรู้จักกตัญญูรู้คุณการรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิม และการรู้จักทำบุญให้ทานถือศีลในระหว่างเข้าพรรษา เป็นต้น
(4) วิชาศิลปะป้องกันตัวเป็นการสอนให้รู้จักการใช้อาวุธการบังคับสัตว์ที่ใช้เป็นพาหนะในการออกศึกและตำราพิชัยยุทธ
1.2 การศึกษาในสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 - พ.ศ. 2310)
กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นราชธานีอันยาวนาน 417 ปีซึ่งมีความเจริญทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคมการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ซึ่งเกิดจากมีชนชาติต่าง ๆ โดยเฉพาะในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ลักษณะการจัดการศึกษาสมัยกรุงศรีอยุธยา มีดังนี้
1. รูปแบบการจัดการศึกษา มีดังนี้
(1) การศึกษาวิชาสามัญ เน้นการอ่าน เขียนเรียนเลข อันเป็นวิชาพื้นฐานสำหรับการประกอบสัมมาอาชีพของคนไทย
(2) การศึกษาทางด้านศาสนา วัดยังมีบทบาทมาก ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็นต้นมามีนักสอนศาสนาหรือมิชชันนารีได้จัดตั้งโรงเรียนสอนหนังสือและวิชาอื่น ๆขึ้นเรียกโรงเรียนมิชชันนารีนี้ว่า โรงเรียนสามเณรเพื่อชักจูงให้ชาวไทยหันไปนับถือศาสนาคริสต์

(3) การศึกษาทางด้านภาษาศาสตร์และวรรณคดี มีการสอนทั้งภาษาไทยบาลี สันสกฤตฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ และภาษาจีน
(4) การศึกษาของผู้หญิงมีการเรียนวิชาชีพ การเรือนการครัว ทอผ้า กิริยามารยาทเพื่อป้องกันไม่ให้เขียนเพลงยาวโต้ตอบกับผู้ชาย แต่ผู้หญิงที่อยู่ในราชตระกูลเริ่มเรียนภาษาไทยตลอดทั้งการประพันธ์
(5) การศึกษาวิชาการด้านทหาร มีการจัดระเบียบการปกครองในแผ่นดิน
ในรัชสมัยพระรามาธิบดีที่ 2 ทรงจัดวางระเบียบทางด้านการทหาร มีการทำบัญชี คือการเกณฑ์คนเข้ารับราชการทหาร ผู้ชายอายุตั้งแต่ 13 ปีขึ้นไปถึง 60 ปีเรียกว่าไพร่หลวง
2. สถานศึกษาในสมัยกรุงศรีอยุธยานี้ยังคงเหมือนกับสมัยสุโขทัยที่ต่างออกไป คือมีโรงเรียนมิชชันนารีเป็นโรงเรียนที่ชาวตะวันตกได้เข้ามาสร้างเพื่อเผยแพร่ศาสนาและขณะเดียวกันก็สอนวิชาสามัญด้วย
3. เนื้อหาวิชาที่สอนมีสอนทั้งวิชาชีพและวิชาสามัญ กล่าวคือ
(1) วิชาสามัญมีการเรียนวิชาการอ่าน เขียน เลข ใช้แบบเรียนภาษาไทยจินดามณี
(2) วิชาชีพเรียนรู้กันในวงศ์ตระกูล สำหรับเด็กผู้ชายได้เรียนวิชาวาดเขียน แกะสลักและช่างฝีมือต่าง ๆ (3) ด้านอักษรศาสตร์ มีการศึกษาด้านอักษรศาสตร์มีวรรณคดีหลายเล่มที่เกิดขึ้น เช่น สมุทรโฆษคำฉันท์ และกำศรวลศรีปราชญ์ เป็นต้นอีกทั้งมีการสอนภาษาไทย บาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ และจีน
(4) วิชาจริยศึกษา เน้นการศึกษาด้านพระพุทธศาสนามากขึ้น เช่นในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงกวดขันในเรื่องการศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ทรงให้เสรีภาพไม่กีดกันศาสนาทรงอุปถัมภ์พวกสอนศาสนา
1.3 การศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ. 2311 พ.ศ. 2411)
การศึกษาในสมัยนี้เช่นเดียวกับสมัยอยุธยา บ้านและวัดยังคงมีบทบาทเหมือนเดิมการจัดการศึกษาในช่วงนี้ มีดังนี้
(1) สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีเป็นระยะเก็บรวบรวมสรรพตำราจากแหล่งต่าง ๆที่รอดพ้นจากการทำลายของพม่า เน้นการทำนุบำรุงตำราทางศาสนา ศิลปะและวรรณคดี
(2) สมัยพระบาทสมเด็จพ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
1. the study of ancient Thailand (1781-2411 (1868)) This study is a study of the cultural inheritance, with the House and the temple is the center of education, such as training, home is a place of Wak members within the House. Wang is a place that combines scholars of various disciplines serve as peer before the temple is a place of religious ritual, which consists of the Lord, to serve in the training to teach the Buddhist Dharma is sufficiently evident that all three institutions have a role in this, but education training for the people in Thailand to convey from one generation to the next generation. 1.1 in the Sukhothai period (since 1781 since 1921) to manage the following:1. academic format is divided into 2 factions is that the Kingdom is divided into 2 parts: part one is education for men is like boxing, various weapons, as well as the method of Krabi Krabong and horse force. Chang's textbooks and two civilians phichai doubles strategy is education provided to civilian medical astrology classes, Bible approximate private guy. Best women's civil, women's embroidery artist classes. The dye Sewing the weave 2. the Institute for education in the(1) basic social institution that provides a place to live as their ancestors, knowledge construction, protected the art house for men and housework to households. (2) the monastery is an important study of the people in General to discipline the mind and the pursuit of their duties Dhamma.(3) Office of the Royal House of the people, as the graduates that have some knowledge of the high nobility, with architecture titled rank. Some people never learn, and then ordained as a proficient in any branch of. (4) the Office of a school of the Royal family and the aristocracy's children in the Kingdom is a Brahmin or taught postgraduate.3. วิชาที่สอน ไม่ได้กำหนดตายตัว พอแบ่งออกได้ดังนี้ (1) วิชาความรู้สามัญ สันนิษฐานว่าในช่วงต้นสุโขทัยใช้ภาษาบาลีและสันสกฤต ต่อมาในสมัยหลังจากที่พ่อขุนรามคำแหงได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช้เมื่อ พ.ศ. 1826 จึงมีการเรียนภาษาไทยกัน (2) วิชาชีพ เรียนกันตามแบบอย่างบรรพบุรุษตระกูลใดมีความชำนาญด้านใดลูกหลานจะมีความถนัดและประกอบอาชีพตามแบบอย่างกันมา เช่นตระกูลใดเป็นแพทย์ก็จะสอนบุตรหลานให้เป็นแพทย์(3) วิชาจริยศึกษาสอนให้เคารพนับถือบรรพบุรุษการรู้จักกตัญญูรู้คุณการรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิม และการรู้จักทำบุญให้ทานถือศีลในระหว่างเข้าพรรษา เป็นต้น (4) วิชาศิลปะป้องกันตัวเป็นการสอนให้รู้จักการใช้อาวุธการบังคับสัตว์ที่ใช้เป็นพาหนะในการออกศึกและตำราพิชัยยุทธ1.2 การศึกษาในสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 - พ.ศ. 2310) กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นราชธานีอันยาวนาน 417 ปีซึ่งมีความเจริญทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคมการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ซึ่งเกิดจากมีชนชาติต่าง ๆ โดยเฉพาะในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองและสมเด็จพระนารายณ์มหาราชลักษณะการจัดการศึกษาสมัยกรุงศรีอยุธยา มีดังนี้1. รูปแบบการจัดการศึกษา มีดังนี้ (1) การศึกษาวิชาสามัญ เน้นการอ่าน เขียนเรียนเลข อันเป็นวิชาพื้นฐานสำหรับการประกอบสัมมาอาชีพของคนไทย (2) การศึกษาทางด้านศาสนา วัดยังมีบทบาทมาก ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็นต้นมามีนักสอนศาสนาหรือมิชชันนารีได้จัดตั้งโรงเรียนสอนหนังสือและวิชาอื่น ๆขึ้นเรียกโรงเรียนมิชชันนารีนี้ว่า โรงเรียนสามเณรเพื่อชักจูงให้ชาวไทยหันไปนับถือศาสนาคริสต์(3) การศึกษาทางด้านภาษาศาสตร์และวรรณคดี มีการสอนทั้งภาษาไทยบาลี สันสกฤตฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ และภาษาจีน (4) การศึกษาของผู้หญิงมีการเรียนวิชาชีพ การเรือนการครัว ทอผ้า กิริยามารยาทเพื่อป้องกันไม่ให้เขียนเพลงยาวโต้ตอบกับผู้ชาย แต่ผู้หญิงที่อยู่ในราชตระกูลเริ่มเรียนภาษาไทยตลอดทั้งการประพันธ์ (5) การศึกษาวิชาการด้านทหาร มีการจัดระเบียบการปกครองในแผ่นดินในรัชสมัยพระรามาธิบดีที่ 2 ทรงจัดวางระเบียบทางด้านการทหาร มีการทำบัญชี คือการเกณฑ์คนเข้ารับราชการทหาร ผู้ชายอายุตั้งแต่ 13 ปีขึ้นไปถึง 60 ปีเรียกว่าไพร่หลวง 2. สถานศึกษาในสมัยกรุงศรีอยุธยานี้ยังคงเหมือนกับสมัยสุโขทัยที่ต่างออกไป คือมีโรงเรียนมิชชันนารีเป็นโรงเรียนที่ชาวตะวันตกได้เข้ามาสร้างเพื่อเผยแพร่ศาสนาและขณะเดียวกันก็สอนวิชาสามัญด้วย3. เนื้อหาวิชาที่สอนมีสอนทั้งวิชาชีพและวิชาสามัญ กล่าวคือ (1) วิชาสามัญมีการเรียนวิชาการอ่าน เขียน เลข ใช้แบบเรียนภาษาไทยจินดามณี (2) วิชาชีพเรียนรู้กันในวงศ์ตระกูล สำหรับเด็กผู้ชายได้เรียนวิชาวาดเขียน แกะสลักและช่างฝีมือต่าง ๆ (3) ด้านอักษรศาสตร์ มีการศึกษาด้านอักษรศาสตร์มีวรรณคดีหลายเล่มที่เกิดขึ้น เช่น สมุทรโฆษคำฉันท์ และกำศรวลศรีปราชญ์ เป็นต้นอีกทั้งมีการสอนภาษาไทย บาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ และจีน(4) วิชาจริยศึกษา เน้นการศึกษาด้านพระพุทธศาสนามากขึ้น เช่นในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงกวดขันในเรื่องการศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ทรงให้เสรีภาพไม่กีดกันศาสนาทรงอุปถัมภ์พวกสอนศาสนา 1.3 การศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ. 2311 พ.ศ. 2411)
การศึกษาในสมัยนี้เช่นเดียวกับสมัยอยุธยา บ้านและวัดยังคงมีบทบาทเหมือนเดิมการจัดการศึกษาในช่วงนี้ มีดังนี้
(1) สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีเป็นระยะเก็บรวบรวมสรรพตำราจากแหล่งต่าง ๆที่รอดพ้นจากการทำลายของพม่า เน้นการทำนุบำรุงตำราทางศาสนา ศิลปะและวรรณคดี
(2) สมัยพระบาทสมเด็จพ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
1. Education of ancient (the 1781 - the 2411)
.Education nowadays is inheritance of cultural traditions. The house and the temple as the center of education. Such a home is a place of mind training socialization members home. The palace is the place included the scholars in various fields.Temple is a place of religious ritual.1.Study 1 Sukhothai period (the 1781 1921 BC) were organized as follows:
1.Education management model is divided into 2 parties is the kingdom was divided into 2 parts. The first part is educational management for men as soldiers, such as boxing, swordplay and weapons, as well as how to force the horse.The second part civilian. The civilian men to learn the docudrama astrology horoscopes. The civilian women to study at women, embroidery, dyeing, sewing, knitting, woven
.2. The school for the school in this day and age, composed of
.(1) house as a social institution based at help function in knowledge transfer in career his fathers construction houses and martial art for a change!(2) monastery education important people general to duty refined mind and seek Dharma
.(3) Royal Academy? Is the home of people people praised the educated some Lords have social position Some people used to be ordained and therefore have a masterful knowledge in various fields of
.(4) court of the royal family and children education of court officials have Brahmin or scholar teacher
3. Teaching does not set a fixed When the divided as follows:
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: