แนวคิดการจัดการความสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์ ในยุคนี้ การจัดซื้อ (Purcha การแปล - แนวคิดการจัดการความสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์ ในยุคนี้ การจัดซื้อ (Purcha อังกฤษ วิธีการพูด

แนวคิดการจัดการความสัมพันธ์กับซัพพล

แนวคิดการจัดการความสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์

ในยุคนี้ การจัดซื้อ (Purchasing) หรือการจัดหา (Procurement) จะเป็นเรื่องที่ไม่เพียงพอต่อการดำเนินธุรกิจอีกต่อไปแล้ว เพราะว่าบทบาทของฝ่ายจัดซื้อจะต้องเปลี่ยนเป็นการจัดซื้อและซัพพลาย (Purchasing and Supply : P & S) ซึ่งปัจจัยภายนอกนั้นส่งผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นสภาพเศรษฐกิจที่ขึ้น-ลง นับตั้งแต่ปี 2008 ทุกธุรกิจต้องเผชิญกับปัญหามากมายเกิดอาการกลัว ทำได้ก็เพียงรักษาสถานภาพ ส่วนในปี 2009 ทุกธุรกิจระวังอย่างมากการลงทุนเป็นไปอย่างระมัดระวัง ลดต้นทุนโดยการปลดคนงานออก (Lay off) และปัจจุบัน (2010) สัญญาณเศรษฐกิจที่เริ่มดีขึ้น ถึงแม้ว่าในประเทศไทยการเมืองจะไม่นิ่งต่อการดำเนินธุรกิจ แต่ทุกธุรกิจก็มองโลกในแง่ดี มีเหตุผลและมองรอบด้านประกอบการตัดสินใจในการทำให้ต้นทุนต่ำ จึงนับว่าเป็นเรื่องที่ท้าทายในการดำเนินธุรกิจอย่างมาก ซึ่งการที่จะทำได้เช่นนั้น ฝ่ายจัดซื้อจะต้องสร้างความเข้าใจต่อการรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับซัพพลายเออร์ต่อการส่งมอบวัตถุดิบหรือส่งผ่านให้แก่ลูกค้าด้วย

สำหรับความหมายของการจัดการสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์(Supplier Relationship Management : SRM) ในความหมายของผู้เขียนนั้น หมายถึง การทำงานร่วมกันในระยะยาวในฐานะหุ้นส่วน นับตั้งแต่การแลกเปลี่ยนข้อมูล เทคโนโลยี ตลอดจนการพัฒนาหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมกัน เพื่อก่อให้เกิดผลประโยชน์ร่วมกันทั้งสองฝ่าย อย่างไรก็ดี การจัดการความสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์ในแต่ละห่วงโซ่จะมีความไม่แน่นอนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งฝ่ายหรือแผนกการจัดซื้อและซัพพลาย (Purchasing and Supply : P & S) ขององค์กรจะมีขอบเขตงานที่กว้างเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย รวมทั้งยังจะต้องมีทักษะในการบริหารความสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์ (Supplier Relationship Management : SRM) เพิ่มขึ้นอีก ดังนี้

1. การสร้างความไว้วางใจ (Trust) ระหว่างกัน คือจะต้องแสดงความไว้วางใจต่อกันได้ มีศักดิ์ศรี ให้เกียรติซึ่งกันและกันในการทำธุรกิจร่วมกัน มิใช่ จ้องแต่ละทำกำไรหรือผลประโยชน์

2. ให้คุณค่าต่อกัน (Value to both) ในการดำเนินกิจกรรมร่วมกันจะต้องมีความแม่นยำ จำได้ สัญญาชัดเจน ติดต่อกันอย่างสม่ำเสมอ ไม่ใช่ เป็นการติดต่อกันในลักษณะทวงของหรือสั่งของเท่านั้น แต่คนกันควรเป็นแบบเสมอภาค หรือ วางฟอร์มกดหัวซัพพลายเออร์ เพราะต่างคนต่างมีดี

3. คบกันระยะยาว (A Long-Turn Hori) SRM ไม่ได้แปลว่า นุ่มนวลหรือง่าย ๆ ในการสร้างความสัมพันธ์หรือยอมทุกอย่าง แต่การคบกันกับซัพพลายเออร์ก็เปรียบเหมือนกับการคบแฟนเพื่อเลือกที่จะพิจารณาดูในแต่ละช่วงเวลาตั้งแต่เพิ่งรู้จัก นัดพบ เริ่มทำงานด้วยกันอย่างใกล้ชิด จนกระทั่งแต่งงานและใช้ชีวิตคู่ไปด้วยกันตลอดชีวิต

4. เป็นนักเจรจาต่อรอง โดยจะต้องเปลี่ยนจากจุดที่บริษัทมีจุดอ่อนในเรื่องการเจรจากับซัพพลายเออร์เป็นข้อได้เปรียบหรือสานสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน เช่น มียอดสั่งซื้อน้อย จะต้องเปลี่ยนเป็น คราวหน้าทางบริษัทจะมีโครงการใหม่อีก ราคาลดลงได้ไหม? รวมทั้งให้มองหาเพื่อนในวงการเดียวกันรวมคำสั่งกันให้เกิดอำนาจในการเจรจาต่อรองโดยให้บริษัทที่มีอำนาจรับเป็นคนเจรจาแทน หรือไม่ก็ให้ใช้วิธีการทำสัญญาระยะสั้น ๆ

สำหรับรูปแบบของการพัฒนาความสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์สามารถแบ่งออกเป็น 6 รูปแบบคือ แบบที่ 1. Spot Purchase คือ ซื้อคบกันเป็นครั้งคราว ซึ่งเป็นการคัดเลือกซัพพลายเออร์จะดูจากราคาสินค้าที่ต่ำที่สุดเป็นสำคัญ โดยจะช่วยเหลือ แนะนำ ปรับปรุงระบบการทำงานเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ซึ่งความสัมพันธ์ในลักษณะนี้ ถือว่าเป็นพื้นฐานโดยทั่วไปของการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน เพื่อให้ซัพพลายเออร์เกิดความสามารถในการแข่งขันระหว่างซัพพลายเออร์ด้วยกัน แบบที่ 2 Regular Trading ซื้อแบบสม่ำเสมอ จะเห็นได้ว่าความสัมพันธ์แบบนี้จะต้องเปลี่ยนใหม่ โดยจะมีการพูดคุยกันในเรื่องต่างๆ เช่น เงื่อนไขการซื้อสินค้า ความต้องการด้านคุณภาพ การส่งมอบสินค้า ด้านต้นทุน ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยี การแลกเปลี่ยนข้อมูล ฯลฯ แบบที่ 3 Call-off Contracts ทางฝ่ายซัพพลายเออร์เริ่มพิถิพิถันกับฝ่ายจัดซื้อมากขึ้น เริ่มให้สิทธิพิเศษมากขึ้น เช่น การยืนราคาให้จนถึงสิ้นปี เป็นต้น แบบที่ 4 Fixed Contracts นอกจากซัพพลายเออร์จะยืนราคาจนถึง 6 เดือนตามตัวอย่าง ผู้ซื้อก็ต้องยืนยันปริมาณที่จะต้องการสั่งด้วย แบบที่ 5 Partnership เริ่มทำงานร่วมกันเสมือนเป็นหุ้นส่วนกัน ทั้ง ๆ ที่ เราก็ไม่ได้ลงทุนกับเขา และเขาก็ไม่ได้ลงทุนกับเรา แต่ทั้งสองฝ่ายจะต้องมีสัมพันธภาพติดต่อสื่อสารกันอย่างใกล้ชิด และแบบที่ 6 Joint Ventures คือ ต่างคนต่างถือหุ้นซึ่งกันและกัน หมายถึงว่าเราก็ถือหุ้นเขาส่วนหนึ่ง และเขาก็ถือหุ้นของเราส่วนหนึ่งเช่นกัน

อย่างไรก็ดี หากธุรกิจสามารถนำแนวคิดของการจัดการความสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์มาใช้ จนสามารถพัฒนาก้าวผ่านมายืนอยู่ในรูปแบบที่ 5 หรือ 6 จะก่อให้เกิดประโยชน์มหาศาลทั้งสองฝ่ายหลัก ๆ มี 4ด้าน คือ

1. ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ เกิดการพัฒนาหรือออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมกัน จะนำมาซึ่งความสามารถในการแข่งขัน ต้นทุนการผลิตที่ลดลง ลดระยะเวลาในการส่งมอบสินค้า คุณภาพของสินค้า ที่ก่อให้เกิดการประหยัดร่วมกันทั้งในส่วนของซัพพลายเออร์และธุรกิจ

2. ด้านการเงินและการตลาด ทำให้การพัฒนาศักยภาพในการแข่งขันทั้งในส่วนของธุรกิจและซัพพลายเออร์ เนื่องด้วยความโดดเด่นของผลิตภัณฑ์ที่สามารถผลิตออกมาได้ตรงตามความต้องการของตลาด หรือการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

3. ด้านประสิทธิผลขององค์การ เมื่อมีการพัฒนาความสัมพันธ์ให้ก้าวไกลขึ้นอันเนื่องมาจากข้อ 1 และข้อ 2 เนื่องมาจากความสำเร็จของการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับซัพพลายเออร์

4. ด้านทรัพยากรบุคคลและด้านการมุ่งเน้นลูกค้า เนื่องจากผลลัพธ์ด้านทรัพยากรบุคคลและผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า เพราะว่าสิ่งสำคัญที่จะลืมไม่ได้ก็คือ เมื่อมีการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมกัน การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีและข้อมูล ตลอดจนการใช้ทรัพยากรต่างๆ ร่วมกัน รวมถึงทรัพยากรบุคคลทั้งสองฝ่าย ซึ่งเป็นการพัฒนาศัพยภาพร่วมกัน โดยเป้าหมายของการทำธุรกิจร่วมกันเพื่อตอบสนองต่อความพึงพอใจของลูกค้า นับว่าเป็นผลสืบเนื่องจากการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจกับซัพพลายเออร์ที่ดีจึงส่งผลทางอ้อมด้วย

โดยสรุป การที่นักจัดซื้อจะตัดสินใจเลือกซื
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The concept of managing the relationship with the supplier. ในยุคนี้ การจัดซื้อ (Purchasing) หรือการจัดหา (Procurement) จะเป็นเรื่องที่ไม่เพียงพอต่อการดำเนินธุรกิจอีกต่อไปแล้ว เพราะว่าบทบาทของฝ่ายจัดซื้อจะต้องเปลี่ยนเป็นการจัดซื้อและซัพพลาย (Purchasing and Supply : P & S) ซึ่งปัจจัยภายนอกนั้นส่งผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นสภาพเศรษฐกิจที่ขึ้น-ลง นับตั้งแต่ปี 2008 ทุกธุรกิจต้องเผชิญกับปัญหามากมายเกิดอาการกลัว ทำได้ก็เพียงรักษาสถานภาพ ส่วนในปี 2009 ทุกธุรกิจระวังอย่างมากการลงทุนเป็นไปอย่างระมัดระวัง ลดต้นทุนโดยการปลดคนงานออก (Lay off) และปัจจุบัน (2010) สัญญาณเศรษฐกิจที่เริ่มดีขึ้น ถึงแม้ว่าในประเทศไทยการเมืองจะไม่นิ่งต่อการดำเนินธุรกิจ แต่ทุกธุรกิจก็มองโลกในแง่ดี มีเหตุผลและมองรอบด้านประกอบการตัดสินใจในการทำให้ต้นทุนต่ำ จึงนับว่าเป็นเรื่องที่ท้าทายในการดำเนินธุรกิจอย่างมาก ซึ่งการที่จะทำได้เช่นนั้น ฝ่ายจัดซื้อจะต้องสร้างความเข้าใจต่อการรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับซัพพลายเออร์ต่อการส่งมอบวัตถุดิบหรือส่งผ่านให้แก่ลูกค้าด้วย สำหรับความหมายของการจัดการสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์(Supplier Relationship Management : SRM) ในความหมายของผู้เขียนนั้น หมายถึง การทำงานร่วมกันในระยะยาวในฐานะหุ้นส่วน นับตั้งแต่การแลกเปลี่ยนข้อมูล เทคโนโลยี ตลอดจนการพัฒนาหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมกัน เพื่อก่อให้เกิดผลประโยชน์ร่วมกันทั้งสองฝ่าย อย่างไรก็ดี การจัดการความสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์ในแต่ละห่วงโซ่จะมีความไม่แน่นอนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งฝ่ายหรือแผนกการจัดซื้อและซัพพลาย (Purchasing and Supply : P & S) ขององค์กรจะมีขอบเขตงานที่กว้างเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย รวมทั้งยังจะต้องมีทักษะในการบริหารความสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์ (Supplier Relationship Management : SRM) เพิ่มขึ้นอีก ดังนี้1. การสร้างความไว้วางใจ (Trust) ระหว่างกัน คือจะต้องแสดงความไว้วางใจต่อกันได้ มีศักดิ์ศรี ให้เกียรติซึ่งกันและกันในการทำธุรกิจร่วมกัน มิใช่ จ้องแต่ละทำกำไรหรือผลประโยชน์2. ให้คุณค่าต่อกัน (Value to both) ในการดำเนินกิจกรรมร่วมกันจะต้องมีความแม่นยำ จำได้ สัญญาชัดเจน ติดต่อกันอย่างสม่ำเสมอ ไม่ใช่ เป็นการติดต่อกันในลักษณะทวงของหรือสั่งของเท่านั้น แต่คนกันควรเป็นแบบเสมอภาค หรือ วางฟอร์มกดหัวซัพพลายเออร์ เพราะต่างคนต่างมีดี3. คบกันระยะยาว (A Long-Turn Hori) SRM ไม่ได้แปลว่า นุ่มนวลหรือง่าย ๆ ในการสร้างความสัมพันธ์หรือยอมทุกอย่าง แต่การคบกันกับซัพพลายเออร์ก็เปรียบเหมือนกับการคบแฟนเพื่อเลือกที่จะพิจารณาดูในแต่ละช่วงเวลาตั้งแต่เพิ่งรู้จัก นัดพบ เริ่มทำงานด้วยกันอย่างใกล้ชิด จนกระทั่งแต่งงานและใช้ชีวิตคู่ไปด้วยกันตลอดชีวิต4. เป็นนักเจรจาต่อรอง โดยจะต้องเปลี่ยนจากจุดที่บริษัทมีจุดอ่อนในเรื่องการเจรจากับซัพพลายเออร์เป็นข้อได้เปรียบหรือสานสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน เช่น มียอดสั่งซื้อน้อย จะต้องเปลี่ยนเป็น คราวหน้าทางบริษัทจะมีโครงการใหม่อีก ราคาลดลงได้ไหม? รวมทั้งให้มองหาเพื่อนในวงการเดียวกันรวมคำสั่งกันให้เกิดอำนาจในการเจรจาต่อรองโดยให้บริษัทที่มีอำนาจรับเป็นคนเจรจาแทน หรือไม่ก็ให้ใช้วิธีการทำสัญญาระยะสั้น ๆ สำหรับรูปแบบของการพัฒนาความสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์สามารถแบ่งออกเป็น 6 รูปแบบคือ แบบที่ 1. Spot Purchase คือ ซื้อคบกันเป็นครั้งคราว ซึ่งเป็นการคัดเลือกซัพพลายเออร์จะดูจากราคาสินค้าที่ต่ำที่สุดเป็นสำคัญ โดยจะช่วยเหลือ แนะนำ ปรับปรุงระบบการทำงานเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ซึ่งความสัมพันธ์ในลักษณะนี้ ถือว่าเป็นพื้นฐานโดยทั่วไปของการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน เพื่อให้ซัพพลายเออร์เกิดความสามารถในการแข่งขันระหว่างซัพพลายเออร์ด้วยกัน แบบที่ 2 Regular Trading ซื้อแบบสม่ำเสมอ จะเห็นได้ว่าความสัมพันธ์แบบนี้จะต้องเปลี่ยนใหม่ โดยจะมีการพูดคุยกันในเรื่องต่างๆ เช่น เงื่อนไขการซื้อสินค้า ความต้องการด้านคุณภาพ การส่งมอบสินค้า ด้านต้นทุน ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยี การแลกเปลี่ยนข้อมูล ฯลฯ แบบที่ 3 Call-off Contracts ทางฝ่ายซัพพลายเออร์เริ่มพิถิพิถันกับฝ่ายจัดซื้อมากขึ้น เริ่มให้สิทธิพิเศษมากขึ้น เช่น การยืนราคาให้จนถึงสิ้นปี เป็นต้น แบบที่ 4 Fixed Contracts นอกจากซัพพลายเออร์จะยืนราคาจนถึง 6 เดือนตามตัวอย่าง ผู้ซื้อก็ต้องยืนยันปริมาณที่จะต้องการสั่งด้วย แบบที่ 5 Partnership เริ่มทำงานร่วมกันเสมือนเป็นหุ้นส่วนกัน ทั้ง ๆ ที่ เราก็ไม่ได้ลงทุนกับเขา และเขาก็ไม่ได้ลงทุนกับเรา แต่ทั้งสองฝ่ายจะต้องมีสัมพันธภาพติดต่อสื่อสารกันอย่างใกล้ชิด และแบบที่ 6 Joint Ventures คือ ต่างคนต่างถือหุ้นซึ่งกันและกัน หมายถึงว่าเราก็ถือหุ้นเขาส่วนหนึ่ง และเขาก็ถือหุ้นของเราส่วนหนึ่งเช่นกัน อย่างไรก็ดี หากธุรกิจสามารถนำแนวคิดของการจัดการความสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์มาใช้ จนสามารถพัฒนาก้าวผ่านมายืนอยู่ในรูปแบบที่ 5 หรือ 6 จะก่อให้เกิดประโยชน์มหาศาลทั้งสองฝ่ายหลัก ๆ มี 4ด้าน คือ1. ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ เกิดการพัฒนาหรือออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมกัน จะนำมาซึ่งความสามารถในการแข่งขัน ต้นทุนการผลิตที่ลดลง ลดระยะเวลาในการส่งมอบสินค้า คุณภาพของสินค้า ที่ก่อให้เกิดการประหยัดร่วมกันทั้งในส่วนของซัพพลายเออร์และธุรกิจ2. ด้านการเงินและการตลาด ทำให้การพัฒนาศักยภาพในการแข่งขันทั้งในส่วนของธุรกิจและซัพพลายเออร์ เนื่องด้วยความโดดเด่นของผลิตภัณฑ์ที่สามารถผลิตออกมาได้ตรงตามความต้องการของตลาด หรือการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
3. ด้านประสิทธิผลขององค์การ เมื่อมีการพัฒนาความสัมพันธ์ให้ก้าวไกลขึ้นอันเนื่องมาจากข้อ 1 และข้อ 2 เนื่องมาจากความสำเร็จของการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับซัพพลายเออร์

4. ด้านทรัพยากรบุคคลและด้านการมุ่งเน้นลูกค้า เนื่องจากผลลัพธ์ด้านทรัพยากรบุคคลและผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า เพราะว่าสิ่งสำคัญที่จะลืมไม่ได้ก็คือ เมื่อมีการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมกัน การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีและข้อมูล ตลอดจนการใช้ทรัพยากรต่างๆ ร่วมกัน รวมถึงทรัพยากรบุคคลทั้งสองฝ่าย ซึ่งเป็นการพัฒนาศัพยภาพร่วมกัน โดยเป้าหมายของการทำธุรกิจร่วมกันเพื่อตอบสนองต่อความพึงพอใจของลูกค้า นับว่าเป็นผลสืบเนื่องจากการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจกับซัพพลายเออร์ที่ดีจึงส่งผลทางอ้อมด้วย

โดยสรุป การที่นักจัดซื้อจะตัดสินใจเลือกซื
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
The concept of managing relationships with suppliers in this procurement (Purchasing) or sourcing (Procurement) would be inadequate to the business anymore. The role of the procurement department will have to change the Purchasing and Supply (Purchasing and Supply: P & S), which outside factors that affect the business greatly. Whether the economy is up - since 2008, all businesses face many problems with fear. It was only in the year 2009 to maintain all business investment is going to be very careful carefully. Reducing costs through layoffs out (Lay off) and the current (2010) signals that the economy is getting better. Although politics is still in the business. However, every business is looking optimistic. Realistic and look around for the decision to keep costs low. This would be a challenge in the business dramatically. In order to do so. Procurement must create an understanding on maintaining good relationships with suppliers to deliver raw materials or delivered to clients by for a means of managing relationships with suppliers (Supplier Relationship Management: SRM) in. The author of that means working together as partners in the long term. Since the exchange of information, technology and development, and product design together. Contributes to the mutual benefit of both sides, however, manage relationships with suppliers in each chain are increasingly uncertain. Which department or departments of Purchasing and Supply (Purchasing and Supply: P & S) organization will have a broader scope to increase as well. It also must have the skills to manage relationships with suppliers (Supplier Relationship Management: SRM) increased as follows: 1. Build trust (Trust) between the need to show trust to be there. respect the dignity of doing business together, but each booking profits or benefits 2. APPRECIATION together (Value to both) to carry out joint activities to be accurately remembered consecutive keeping clear promises not to contact each other in the manner of protest or order only. But people should be equal or paste form dispenser suppliers. Because everyone has a good third. Long-term relationship (A Long-Turn Hori) SRM does not necessarily mean smooth or easy to build a relationship or not everything. But taken together with suppliers, it is like me, so I choose to look at different times since the meeting began working together just as closely. The couple married and live together for life 4. A negotiator It will be transformed from a weakness in the company's negotiations with suppliers are the advantages or reestablish good as new orders less. Will be renamed Next time we will have another new project. Price dropped it? As well as looking for a friend in the same order as the power to negotiate with a company that has been authorized to negotiate instead. Nor does it make use of short term contracts. Any form of developing relationships with suppliers can be divided into six different styles at 1. Spot Purchase is purchased together occasionally. This involves selecting suppliers will see the price as low as possible is important. The guide will help improve the system only slightly. The relationship of this nature Generally regarded as the basis of communication between them. To give suppliers the ability to compete with suppliers during the 2 Regular Trading buy regularly. It can be seen that this relationship will be replaced. There will be discussions on issues such as conditions of purchase. Quality requirements Delivery cost product design. Technology Exchange Data exchange etc. The 3 Call-off Contracts Department began Pigeon local suppliers with procurement more stringent. Became more like a privilege to stand at the end of the year as a 4 Fixed Contracts addition, suppliers will stand until six months following the example. The buyer will need to confirm the amount with a 5 Partnership began working together as partners, though we did not invest with him. And he did not invest with us. But both sides must communicate closely with fellowship at 6 Joint Ventures and the people holding each other. It means that we share his part. And he shares our part as well, however. If a business can take the concept of managing relationships with suppliers used. I can stand the pace over the past five or six in a form that will cause enormous benefits both parties have four main areas: 1. products and services. Develop or design products jointly. Will bring the ability to compete. Production costs fell Shorten product delivery time. Product quality Which contributes to the economy, both in terms of suppliers and business second. Finance and Marketing The development of the competitiveness of both businesses and suppliers. Due to the uniqueness of the product can be produced to meet market demand. Changes in technology or third. Organizational Effectiveness Once you have developed a relationship that goes up due to the paragraphs 1 and 2 due to the success of building good relationships with suppliers 4. HR and customer focus. As a result, human resources and customer-focused outcomes. It's important not to forget it. When designing products together. Exchange of technology and information As well as the use of shared resources, including human resources, the two sides. This is a picture of the phone together. The goal of the business together to respond to the customer's satisfaction. As a result of the deal between the business relationships with suppliers, thus indirectly affect the conclusion. The purchase will decide on the purchase.

























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The management concept of the relationship with suppliers,

.In this era, purchasing (Purchasing) or supply (Procurement) is not enough to carry ธุรกิจอีกต่อไป. Because the role of the purchasing department must change in terms of purchasing and supply (Purchasing and Supply:
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: