ชาวมลายูมุสลิมกับสิทธิเสรีภาพ:   ความเคลื่อนไหวทางการเมืองของชาวไทยมุส การแปล - ชาวมลายูมุสลิมกับสิทธิเสรีภาพ:   ความเคลื่อนไหวทางการเมืองของชาวไทยมุส มาเลย์ วิธีการพูด

ชาวมลายูมุสลิมกับสิทธิเสรีภาพ:   คว

ชาวมลายูมุสลิมกับสิทธิเสรีภาพ:   ความเคลื่อนไหวทางการเมืองของชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต้บทคัดย่อบทความบทนี้เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพของชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต้  ซึ่งมีความมุ่งหมายที่จะตรวจสอบสาเหตุการเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ความเคลื่อนไหวทางการเมืองของชนกลุ่มน้อยจากแนวทางสายกลางสู่ความรุนแรงภายในประเทศที่มีระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา   จึงมีการตรวจสอบหาสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ของชนกลุ่มน้อยโดยใช้ปัจจัยที่เป็นตัวแปรอิสระหลักๆ  สามปัจจัยคือ   1) ระบบการเมืองให้เสรีภาพไม่เพียงพอ 2)  การพัฒนาเศรษฐกิจไม่ทั่วถึง  และ 3)  ทัศนคติของประชาชนเปลี่ยนแปลง  ทั้งนี้ เพื่อค้นหาค่านิยมที่เกี่ยวข้องกับเหตุผลของการเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ความเคลื่อนไหวด้านการเมืองของชนกลุ่มน้อยจากแนวทางสายกลางสู่ความรุนแรง  บทความบทนี้จึงใช้ข้อมูลที่มาจากทั้งสองแหล่งคือ ปฐมภูมิและทุติยภูมิ  แล้วนำมาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณควบคู่กันไป ซึ่งข้อมูลปฐมภูมินั้นได้มาจากการสัมภาษณ์ที่ได้ออกแบบโครงสร้างคำถามขึ้นมาสอบถามผู้นำชุมชนจำนวน 30 ท่านในอำเภอยะรัง (ปัตตานี) อำเภอยี่งอ (นราธิวาส) และอำเภอรามัน (ยะลา) เริ่มจากเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 การสัมภาษณ์ดังกล่าวก็เพื่อที่จะได้หยั่งแนวคิดและพิจารณาความเห็นถึงสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ด้านการเมืองของชนกลุ่มน้อย ซึ่งคำตอบต่างๆ ทั้งหมดจากผู้นำชุมชนจะถูกนำมาวิเคราะห์ในรูปแบบของความถี่และแปลงค่าออกเป็นร้อยละ  ผลลัพธ์ที่คำนวณออกมาที่เป็นค่าร้อยละสูงที่สุดจากปัจจัยตัวแปรอิสระสามปัจจัยดังกล่าวข้างต้นจะถือเป็นการยืนยันถึงสาเหตุที่ชนกลุ่มน้อยเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ความเคลื่อนไหวจากแนวทางสายกลางสู่ความรุนแรง  ส่วนข้อมูลทุติยภูมินั้นจะได้มาจากสื่อและสิ่งตีพิมพ์ต่างๆ นอกจากนี้ เค้าโครงที่ใช้ในบทความเล่มนี้ส่วนใหญ่จะยึดถือแนวความคิดด้านความแปรผันของกลุ่มชาติพันธุ์ของท่าน Smith (1981) ซึ่งในบทความเล่มนี้มีการพบว่า ปัจจัย “การพัฒนาเศรษฐกิจไม่ทั่วถึง” เป็นปัจจัยที่มีค่านิยมสูงสุด (ร้อยละ84.6) ที่มีความเกี่ยวข้องกับสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ด้านการเมืองของชนกลุ่มน้อยที่เป็นชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูจากแนวทางสายกลางสู่ความรุนแรง  ส่วนปัจจัย “ระบบการเมืองให้เสรีภาพไม่เพียงพอ” เป็นปัจจัยรอง (ร้อยละ27) และปัจจัย “ทัศนคติของประชาชนเปลี่ยนแปลง” จะมีค่านิยมที่ต่ำมาก (ร้อยละ 23.1) ส่วนปัจจัยอื่นๆ ที่นอกเหนือจากปัจจัยสามปัจจัยดังกล่าวที่อาจมีความเกี่ยวข้องกับสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงในยุทธศาสตร์ด้านการเมืองของชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูคือ ปัจจัย “ความรู้สึกเสียใจกับญาติพี่น้องที่เสียชีวิตจากการปราบปรามทางทหาร” (ร้อยละ 92.3) และปัจจัย “ไม่เห็นด้วยกับการส่งกำลังทหารเข้าปราบปรามเหตุการณ์ไม่สงบ” (ร้อยละ 57.7)   ฉะนั้น บทความเล่มนี้จึงมีข้อสรุปว่า ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนั้นสืบเนื่องมาจากประชาชนชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูในจังหวัดชายแดนใต้ยังขาดองค์กรทางการเมืองในลักษณะที่เป็นตัวแทนผลประโยชน์ทางชาติพันธ์เข้าสู่สภาในระบบการเมืองของประเทศไทยอย่างเป็นสัดส่วน (proportional representation)  นั้นเอง   
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (มาเลย์) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ชาวมลายูมุสลิมกับสิทธิเสรีภาพ: ความเคลื่อนไหวทางการเมืองของชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต้บทคัดย่อบทความบทนี้เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพของชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งมีความมุ่งหมายที่จะตรวจสอบสาเหตุการเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ความเคลื่อนไหวทางการเมืองของชนกลุ่มน้อยจากแนวทางสายกลางสู่ความรุนแรงภายในประเทศที่มีระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา จึงมีการตรวจสอบหาสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ของชนกลุ่มน้อยโดยใช้ปัจจัยที่เป็นตัวแปรอิสระหลักๆ สามปัจจัยคือ 1) ระบบการเมืองให้เสรีภาพไม่เพียงพอ 2) การพัฒนาเศรษฐกิจไม่ทั่วถึง และ 3) ทัศนคติของประชาชนเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ เพื่อค้นหาค่านิยมที่เกี่ยวข้องกับเหตุผลของการเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ความเคลื่อนไหวด้านการเมืองของชนกลุ่มน้อยจากแนวทางสายกลางสู่ความรุนแรง บทความบทนี้จึงใช้ข้อมูลที่มาจากทั้งสองแหล่งคือ ปฐมภูมิและทุติยภูมิ แล้วนำมาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณควบคู่กันไป ซึ่งข้อมูลปฐมภูมินั้นได้มาจากการสัมภาษณ์ที่ได้ออกแบบโครงสร้างคำถามขึ้นมาสอบถามผู้นำชุมชนจำนวน 30 ท่านในอำเภอยะรัง (ปัตตานี) อำเภอยี่งอ (นราธิวาส) และอำเภอรามัน (ยะลา) เริ่มจากเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 การสัมภาษณ์ดังกล่าวก็เพื่อที่จะได้หยั่งแนวคิดและพิจารณาความเห็นถึงสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ด้านการเมืองของชนกลุ่มน้อย ซึ่งคำตอบต่างๆ ทั้งหมดจากผู้นำชุมชนจะถูกนำมาวิเคราะห์ในรูปแบบของความถี่และแปลงค่าออกเป็นร้อยละ ผลลัพธ์ที่คำนวณออกมาที่เป็นค่าร้อยละสูงที่สุดจากปัจจัยตัวแปรอิสระสามปัจจัยดังกล่าวข้างต้นจะถือเป็นการยืนยันถึงสาเหตุที่ชนกลุ่มน้อยเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ความเคลื่อนไหวจากแนวทางสายกลางสู่ความรุนแรง ส่วนข้อมูลทุติยภูมินั้นจะได้มาจากสื่อและสิ่งตีพิมพ์ต่างๆ นอกจากนี้ เค้าโครงที่ใช้ในบทความเล่มนี้ส่วนใหญ่จะยึดถือแนวความคิดด้านความแปรผันของกลุ่มชาติพันธุ์ของท่าน Smith (1981) ซึ่งในบทความเล่มนี้มีการพบว่า ปัจจัย “การพัฒนาเศรษฐกิจไม่ทั่วถึง” เป็นปัจจัยที่มีค่านิยมสูงสุด (ร้อยละ84.6) ที่มีความเกี่ยวข้องกับสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ด้านการเมืองของชนกลุ่มน้อยที่เป็นชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูจากแนวทางสายกลางสู่ความรุนแรง ส่วนปัจจัย “ระบบการเมืองให้เสรีภาพไม่เพียงพอ” เป็นปัจจัยรอง (ร้อยละ27) และปัจจัย “ทัศนคติของประชาชนเปลี่ยนแปลง” จะมีค่านิยมที่ต่ำมาก (ร้อยละ 23.1) ส่วนปัจจัยอื่นๆ ที่นอกเหนือจากปัจจัยสามปัจจัยดังกล่าวที่อาจมีความเกี่ยวข้องกับสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงในยุทธศาสตร์ด้านการเมืองของชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูคือ ปัจจัย “ความรู้สึกเสียใจกับญาติพี่น้องที่เสียชีวิตจากการปราบปรามทางทหาร” (ร้อยละ 92.3) และปัจจัย “ไม่เห็นด้วยกับการส่งกำลังทหารเข้าปราบปรามเหตุการณ์ไม่สงบ” (ร้อยละ 57.7) ฉะนั้น บทความเล่มนี้จึงมีข้อสรุปว่า ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนั้นสืบเนื่องมาจากประชาชนชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูในจังหวัดชายแดนใต้ยังขาดองค์กรทางการเมืองในลักษณะที่เป็นตัวแทนผลประโยชน์ทางชาติพันธ์เข้าสู่สภาในระบบการเมืองของประเทศไทยอย่างเป็นสัดส่วน (proportional representation) นั้นเอง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (มาเลย์) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Kebebasan awam Melayu Islam: pergerakan politik orang Melayu Islam di wilayah sempadan selatan Thailand ABSTRAK bab ini adalah mengenai hak-hak orang Melayu Islam di wilayah sempadan selatan Thailand. Yang bertujuan untuk menentukan punca perubahan dalam strategi politik minoriti dari tengah kepada keganasan domestik dengan sistem politik tadbir urus dalam sistem demokrasi berparlimen. Kami memeriksa punca perubahan dalam strategi minoriti oleh faktor-faktor yang pembolehubah bebas tiga faktor utama: 1) sistem politik, kebebasan tidak mencukupi, 2) pembangunan ekonomi, menyeluruh, dan 3) sikap peralihan. Untuk mencari nilai-nilai yang berkaitan dengan logik strategik politik minoriti pergerakan itu dari garis tengah ke dalam keganasan. Artikel ini menggunakan data daripada dua sumber. Sumber primer dan sekunder Dianalisis dengan menggunakan kaedah kualitatif dan kuantitatif pada masa yang sama. Data primer diperoleh daripada temu bual yang direka untuk lebih banyak soalan untuk meminta pemimpin masyarakat 30 orang di Yarang (Pattani) Daerah Yi-ngo (Narathiwat) dan Raman Daerah (Yala) dari bulan Jun hingga September. Jumaat . 2550 wawancara yang mengambil konsep dan pertimbangkan pendapat punca perubahan dalam strategi politik minoriti. Jawapan Semua pemimpin akan dianalisis dari segi kekerapan dan ditukar kepada peratusan. Hasilnya dikira sebagai peratusan, yang paling tinggi daripada tiga pembolehubah di atas faktor-faktor akan dianggap sebagai pengesahan punca minoriti, pergerakan strategik garis tengah ke dalam keganasan. Data sekunder diperolehi daripada media dan penerbitan juga menggariskan digunakan dalam kertas kerja ini adalah sebahagian besarnya mengekalkan konsep kumpulan pelbagai etnik Smith (1981), di mana kertas ini. mendapati bahawa "pembangunan ekonomi tidak universal," faktor yang mempunyai paling tinggi (84.6 peratus), yang dikaitkan dengan punca perubahan dalam politik minoriti strategi ini adalah Thailand-Islam agama orang Melayu daripada garis tengah kepada. Faktor keganasan "sistem politik, kebebasan tidak cukup" adalah faktor sekunder (27 peratus) dan "sikap rakyat" akan mempunyai nilai yang sangat rendah (23.1 peratus) dan faktor-faktor lain. Penambahan tiga faktor faktor yang mungkin berkaitan dengan punca perubahan dalam strategi politik Thailand Muslim etnik Melayu adalah "perasaan maaf untuk saudara-mara yang telah meninggal dunia dari penindasan tentera" (92.3 peratus. ) dan "tidak bersetuju untuk menghantar tentera untuk memadamkan rusuhan" (57.7 peratus), jadi kertas ini telah membuat kesimpulan bahawa masalah yang timbul dari masa lalu untuk masa ini, kesudahan yang baik kepada rakyat Thailand Islam. keturunan Melayu di wilayah selatan masih kekurangan organisasi politik dengan cara yang mewakili kepentingan Persekutuan Negara untuk Senat dalam sistem politik secara berkadaran. (Perwakilan berkadar) yang   
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: